14 ปีของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในอีสาน ว่าด้วยนโยบายสาธารณะ

ผู้แต่ง

  • ศุภกานต์ โสภาพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ศูนย์การศึกษาจังหวัดอุดรธานี)
  • ณัฏฐชัย เอกนราจินดาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ศูนย์การศึกษาจังหวัดอุดรธานี)
  • ธีรารัตน์ อำนาจเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ศูนย์การศึกษาจังหวัดอุดรธานี)
  • วลีรัตน์ แสงไชย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา (ศูนย์การศึกษาจังหวัดอุดรธานี)

คำสำคัญ:

สถานภาพองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์, นโยบายสาธารณะ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสถานภาพองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่ พ.ศ. 2547-2560 ในหมวดนโยบายสาธารณะ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากข้อเขียนทางรัฐประศาสนศาสตร์ในหมวดนโยบายสาธารณะที่เขียนขึ้นโดยนักวิชาการที่เป็นอาจารย์รัฐประศาสนศาสตร์ในหมวดดังกล่าวในมหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปีการศึกษาที่ 1/2560 ซึ่งถูกผลิต ตีพิมพ์ และเผยแพร่ต่อสาธารณะระหว่างปี พ.ศ. 2547-2560 ภายใต้เงื่อนไขที่เป็นข้อเขียนทางรัฐประศาสนศาสตร์ 4 ประเภท ได้แก่ (1) บทความตีพิมพ์ในวารสารและหนังสือรวมบทความในระดับชาติ (2) ผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ (3) โครงการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งเป็นหัวหน้าโครงการ และ (4) ตำราทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยไม่รวมเอกสารคำสอน

ผลการวิจัยพบว่า การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตลอดระยะเวลา 14 ปีได้สะท้อนถึงความสนใจของแวดวงวิชาการต่อการศึกษานโยบายสาธารณะในช่วงเวลาดังกล่าว ผ่านข้อเขียนจำนวนทั้งสิ้น 184 เรื่อง โดยแบ่งออกอีกเป็น 6 หมวดย่อย ทั้งนี้ ผลของการวิจัยพบว่า การศึกษาในบางหมวดย่อยยังมุ่งตอบคำถามที่เป็นกรณีศึกษา จนละเลยการมองถึงภาพกกว้าง ทว่าในบางหมวดย่อยที่ให้ความสำคัญกับข้อเขียนเชิงสังเคราะห์กลับมีอยู่จำนวนน้อย ดังนั้น จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ในแต่ละหมวดย่อยในการศึกษานโยบายสาธารณะในอีสาน ควรเดินไปด้วยกันเสมอทั้งการศึกษาในรูปแบบกรณีศึกษาและการศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นการต่อยอดแนวคิดหรือพัฒนากรอบการศึกษานโยบายที่ได้จากการศึกษา ตลอดจนต่อยอดผลของการศึกษา ด้วยมุมมองมิติใหม่ ๆ ถือว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง

References

กตัญญู แก้วหานาม, จริยา ชาตะสุวัจนานนท์ และพิมพ์ลิขิต แก้วหานาม. (2559). แนวทางการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมภาคประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการเมืองการปกครอง, 6(2), 70-69.

กตัญญู แก้วหานาม, พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม และจริยา ชาตะสุวัจนานนท์. (2557a). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (รายงานวิจัย). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

กตัญญู แก้วหานาม, พิมพ์ลิขิต แก้วหานาม และจริยา ชาตะสุวัจนานนท์. (2557b). ปัญหาอุปสรรคในการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลเมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 12(2), 117-145.

กตัญญู แก้วหานาม. (2550). การศึกษาพัฒนาแหล่งเรียนรู้และบทเรียนท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นชุมชนผู้ไท ตำบลหนองห้าง อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

กตัญญู แก้วหานาม. (2555a). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาล: ศึกษาเปรียบ เทียบเทศบาลนครขอนแก่นกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 10(2), 39-65.

กตัญญู แก้วหานาม. (2555b). นโยบายสาธารณะ. กาฬสินธุ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์.

กตัญญู แก้วหานาม. (2556). การบริหารจัดการแผนพัฒนาเทศบาล ภายใต้อิทธิพลของนโยบายแห่งรัฐในช่วงปี พ.ศ. 2550-2555: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

กตัญญู แก้วหานาม. (2557). การวางแผนกลยุทธ์และการบริหารโครงการ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กตัญญู แก้วหานาม และพิมพ์ลิขิต แก้วหานาม. (2558). รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการติดตามตรวจสอบการดำเนินงานขององค์กรปกครองท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 4(2), 82-98.

กตัญญู แก้วหานาม และพิมพ์ลิขิต แก้วหานาม. (2559). แนวทางการเสริมสร้างสำนึกพลเมืองของประชาชนในการติดตามตรวจสอบการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา เทศบาลเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). เรื่องมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: วงศ์สว่างพับลิชชิ่ง แอนด์ พริ้นติ้ง.

กรุงไท นพรัตน์. (2557). แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 7(3), 1–13.

กิติรัตน์ สีหบัณฑ์. (2548). ความสัมพันธ์ของการเขียนประวัติศาสตร์ลาวกับนโยบายจินตนาการใหม่. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 24(4), 104 - 115.

คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (2558). ประวัติความเป็นมาของหลักสูตรสาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560 จาก http://pa.rmu.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=22&Itemid=34

คธาวุธ พลโคตร. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดตั้งจังหวัด กรณีศึกษา อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

คะนอง พิลุน. (2557). การพัฒนารูปแบบการป้องกันยาเสพติดโดยประชาชนมีส่วนร่วม กรณีศึกษาบ้านฮองฮี ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ การประชุมวิชาการ มหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 10, ฉบับพิเศษ, 211-220.

จิตรลดา ไชยะ. (2557). การกำหนดยุทธศาสตร์สำหรับการรณรงค์ให้ใช้จักรยานในชีวิตประจำวันของบุคลากรณ์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

จิราพร บาริศรี, ธรรมรัตน์ สินธุเดช, สุรศักดิ์ ชะมารัมย์ และภักดี โพธิ์สิงห์. (2560). การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในลุ่มแม่น้ำชี กรณีศึกษา: ตำบลท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 11(2), 97-108.

จีรวัฒน์ เจริญสุข. (2554). ความต้องการและอุปสรรคของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและเขตชนบทต่อการเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น: ศึกษาในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองและองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดกาฬสินธุ์ มหาสารคาม และร้อยเอ็ด. มหาสารคาม: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ชคัตตรัย รยะสวัสดิ์. (2559). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนาพื้นที่ด้วยกระบวนการแบบมีส่วนร่วม. วารสารราชพฤกษ์, 14(3), 42-48.

ชนาใจ หมื่นไธสง. (2558). สองทศวรรษของความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย-สปป. ลาว พัฒนาการและผลสะท้อนของนโยบาย. วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 1(2), 65-84.

ชนาใจ หมื่นไธสง และสุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2560). ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทางวิชาการระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: บทบาทการพัฒนาประเทศของกลุ่มองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 9(1), 259-285.

ชาติชัย อุดมกิจมงคล. (2556). แนวทางแก้ไขปัญหาการบริหารการพัฒนาเมืองของเทศบาลนครสกลนคร. วารสารการบริหารปกครอง, 2(2), 76-96.

ธัญวรัตน์ แจ่มใส. (2556). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. ศรีสะเกษ: วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

นพพล อัคฮาด, วัลลภ รัฐฉัตรานนท์ และสมเกียรติ วันทะนะ. (2556). ปัญหาและกระบวนการเพื่อการจัดตั้ง “นครแม่สอด” เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษแห่งใหม่ของประเทศไทย. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์, 2(2), 32-56.

นพพล อัคฮาด. (2557). กระบวนการกำหนดนโยบายเพื่อการจัดตั้ง “นครแม่สอด”: ปฏิสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างชนชั้นนำในราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์, 1(2), 117-148.

นพพล อัคฮาด. (2559). กระบวนการขับเคลื่อนการจัดทำบริการสาธารณะระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับคณะทำงานชุมชนบนพื้นฐานแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่: กรณีศึกษาโครงการชุมชนตัวอย่างวัฒนธรรมสันติวิธีตำบลสาวะถี อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 9(1), 59-82.

นพพล อัคฮาด และอัครวินท์ ศาสนพิทักษ์. (2559). กระบวนการนำนโยบายสาธารณะไปสู่ชุมชนท้องถิ่น: มุมมองสำหรับการตัดสินใจของนักบริหารรัฐกิจเพื่อสร้างความเข้มแข็งของฐานรากในสังคมไทย. วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์, 3(1), 1-41.

ประกาศ แสนทอง. (2549). การดำรงชีวิตของครัวเรือนภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้านเงื่อนไขคุณธรรม จังหวัดอุดรธานี. อุดรธานี: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ประจวบ จันทร์หมื่น. (2554ก). การขยายผลพื้นที่ต้นแบบโครงการพระราชดำริสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

ประจวบ จันทร์หมื่น. (2554ข). โครงการพระราชดำริกับการถ่ายทอดสู่ท้องถิ่น จังหวัดศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ:คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

ประจวบ จันทร์หมื่น. (2555). การส่งเสริมการรับรู้และประยุกต์ใช้แนวทางการทำเกษตรแบบพอเพียงของเกษตรพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ.

ประภัสสร ดาวะเศรษฐ์. (2560). การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อเสริมสร้างธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารบัณฑิตศึกษา, 14(65), 215-224.

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2554). นโยบายสาธารณะยุคหลังสมัยใหม่. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2555). นโยบายสาธารณะยุคหลังสมัยใหม่: ศึกษากรณีนโยบายสาธารณะเชิงปรึกษาหารือขององค์กรชาวบ้านอนุรักษ์ป่าชุมชนโคกหินลาด จังหวัดมหาสารคาม. มหาสารคาม: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2557). นโยบายสาธารณะแนวการตีความ. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.

ประสิทธิ์ คุณุรัตน์. (2549ก). การปรับปรุงและจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินระดับตำบล โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศสี จังหวัดมหาสารคามและจังหวัดสุรินทร์ ปี 2549. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประสิทธิ์ คุณุรัตน์. (2549ข). การปรับปรุงและจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินระดับตำบล โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศสี จังหวัดยโสธรและจังหวัดอำนาจเจริญ ปี 2549. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประสิทธิ์ คุณุรัตน์. (2550). การจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสี จังหวัดอุดรธานี. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ปาริชา มารีเคน. (2556ก). การนำนโยบายการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปปฏิบัติ: กรณีศึกษา การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(3), 59-72.

ปาริชา มารีเคน. (2556ข). การบริหารการพัฒนา. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์, ธวัชชัย ป้องศรี, กันตา วิลาชัย, Matthew F. Taylor, จุฑามาศ มละครบุรี, จตุรงค์ ศรีสุธรรม และสราวุธ เชืออ่อน. (2553). การเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและนโยบายสาธารณะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. มหาสารคาม: ศูนย์ศึกษาการเมืองท้องถิ่นอีสาน วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์, สุนทรชัย ชอบยศ, พบสุข ช่าชอง, วชิรวัตติ์ อาริยะสิริโชติ, อลงกรณ์ อรรคแสง และวนิดา พรมหล้า. (2560). การสร้างความร่วมมือในการบริหารจัดการท้องถิ่น: สำรวจแนวปฏิบัติในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2552ก). การกำหนดนโยบายสาธารณะ: กระบวนทัศน์ แนวทาง ตัวแบบ กรอบ และเทคนิค. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2552ข). ทุนทางสังคม: การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจกรณีศึกษา จ.มหาสารคาม ขอนแก่น และร้อยเอ็ด. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2552ค). นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อมบนฐานของทุนทางสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: แนวคิดและ วิธีการบริหารงานที่เป็นเลิศ (Best Practices). วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 7(2), 84-115.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2552ง). ปัญหาธรรมาภิบาลในกระบวนการนโยบายสาธารณะในระดับชุมชนท้องถิ่น: สะท้อนผ่านปัญหาการมีส่วนร่วมในภาคปฏิบัติ. วารสารสหศาสตร์, 9(2), 28-57.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2553ก). การจัดการความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการส่งเสริมการเกษตร: สะท้อนผ่านภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดมหาสารคาม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 29(3), 34-50.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2553ข). การตรวจสอบการดำเนินนโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยสภาเยาวชน: การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่นด้วยพลังเยาวชน. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2555). เครือข่ายนโยบาย (Policy Networks): ทบทวนปฏิสัมพันธุ์รัฐ ท้องถิ่น องค์กรพัฒนา และชุมชน. วารสารการเมืองการปกครอง, 2(1), 99-118.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2557). นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในทศวรรษที่ผ่านมา. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2559ก). การวิเคราะห์นโยบายและการวางแผนแบบปรึกษาหารือ: สำรวจอิทธิพล Habermas ในการศึกษานโยบายและแผน. วารสารรัฐศาสตร์ มสธ., 1(1), 113-134.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2559ข). ถอดรหัสนโยบายสาธารณะ: จากเชิงเทคนิคสู่เชิงวิพากษ์ ตีความและปรึกษาหารือ. กรุงเทพฯ: คอมมอนบุ๊ค.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2560). การวิเคราะห์นโยบายและการวางแผนแบบปรึกษาหารือ. กรุงเทพฯ: คอมมอนบุ๊ค.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2552). นโยบายและแผนระดับท้องถิ่น: ฐานคติทางทฤษฎีและสังเขปแนวปฏิบัติ. มหาสารคาม: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์. (2553). สรรสาระการบริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ. มหาสารคาม: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และ Frank Fischer. (2559). การวิเคราะห์นโยบายและการวางแผนแบบปรึกษาหารือในการบริหารจัดการท้องถิ่นไทย: บทเรียนแนวปฏิบัติของเทศบาลในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และจตุรงค์ ศรีสุธรรม. (2554a). การเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของการเมืองและนโยบายสาธารณะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้านเศรษฐกิจ สังคมและระบบนิเวศหลังรัฐประหาร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ฉบับพิเศษ, 72-78.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และจตุรงค์ ศรีสุธรรม. (2554b). การวางแผนพัฒนาภูมิภาคในระยะเปลี่ยนผ่าน: การเปลี่ยนแปลงและอุปสรรค. วารสารการเมืองการปกครอง, 1(1), 129-151.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และจาพิกรณ์ เผือกโสภา. (2552). การวัดอุณหภูมิประชาธิปไตยในท้องถิ่น: นวัตกรรมการตรวจสอบการเมืองและการบริหารงานท้องถิ่นโดยชุมชน (รายงานวิจัย). สถาบันพระปกเกล้า.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และพิศาล มุกดารัศมี. (2553). ทุนทางสังคมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือภายใต้การเปลี่ยนแปลง: เปรียบเทียบชุมชนเมืองกับชุมชนชนบท. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 29(4), 62-78

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และสุนทรชัย ชอบยศ. (2558ก). นโยบายและการบริหารจัดการท้องถิ่นบนฐานของทุนทางสังคม: ทางเลือกของการพัฒนาท้องถิ่นในศตวรรษที่ 21. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 11(1), 53-83.

ปิยะพงษ์ บุษบงก์ และสุนทรชัย ชอบยศ. (2558ข). สถานะและบทบาทของทุนทางสังคมที่สะท้อนความเป็นอีสานในการพัฒนาเมืองที่มีเอกลักษณ์และยั่งยืน: กรณีศึกษา ชุมชนเมืองเก่าในร้อยแก่นสารสินธุ์. มหาสารคาม: วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พบสุข ช่ำชอง. (2560ก). การกำหนดนโยบายและการสร้างความยั่งยืนในการดำเนินนโยบายด้านการทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล็ก: ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบประเทศอังกฤษและประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

พบสุข ช่ำชอง. (2560ข). เหตุผลของการควบรวมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบริบทสากล. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13(2), 161-185.

พรสรรค์ ปิยนันทิศักดิ์. (2557). การมีส่วนร่วมในการบริหารกิจการขององค์กรส่วนปกครองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลเมืองศิลา อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พันธเรศ ธรรมสอน. (2550ก). การประเมินผลโครงการ. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

พันธเรศ ธรรมสอน. (2550ข). การวิเคราะห์นโยบาย. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

พิธันดร นิตยสุทธิ์. (2547). สิทธิพลเมืองกับสิ่งแวดล้อมธรรมชาติภายใต้ภาวการณ์ขยะมูลฝอยของเทศบาลนครขอนแก่น. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 22(1), 95-107.

ยุวเรศ หลุดพา. (2560). ความสำเร็จของนโยบายสาธารณะสู่ความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นไทย. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์, 4(1), 136-153.

วชิรวัตติ์ อาริยะสิริโชติ. (2558). การพัฒนานโยบายและกลไกเพื่อส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนตาบลต้นแบบ กรณีศึกษา ตำบลเลิงแฝก อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม (รายงานวิจัย). วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วรัชยา เชื้อจันทึก. (2554). การศึกษาพลังชุมชนบนฐานการจัดการของชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนบ้านริมบึง ต.ขามมะแกแสง อ.ขามมะแกแสง จ.นครราชสีมา (รายงานวิจัย). สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา.

วรุตม์ อิงคถาวรวงศ์. (2557). การศึกษาการนำนโยบายไปปฏิบัติ: จากวันนั้น..เราเดินทางมาไกลเท่าไร. วารสารการบริหารปกครอง, 3(2), 71-93.

วัชรินทร์ สุทธิศัย. (2547). การวิเคราะห์โครงการและการบริหารโครงการ: แนวคิดและแนวทางเชิงสร้างสัมฤทธิ์ผล (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

วิทยา เจริญศิริ. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าสองคอน อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.

วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (ม.ป.ป.). ประวัติวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560, จาก http://copag.msu.ac.th/th/ index.php?BL=aboutcopag/aboutcopag

วินัย จำปาอ่อน. (2552). แนวทางในการพัฒนาชุมชนแออัดในเขตพื้นที่เทศบาลนครอุบลราชธานีโดยการให้การอบรมในรูปแบบศึกษาสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

วิยุทธ์ จำรัสพันธุ์. (2520). การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรป่าไม้ โดยองค์กรของชุมชน กรณีศึกษา 1 ศาลปู่ตาของบ้านหว้าน ต.หว้านคำ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วีระกุล ชายผา. (2554). ศูนย์วิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการภาคตะวันออก เฉียงเหนือ (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วีระกุล ชายผา. (2555ก). การวิจัยและพัฒนาความเข้มแข็งด้านการบริหารจัดการลุ่มน้ำขององค์การบริหารจัดการลุ่มน้ำสาขาและองค์การปกครองท้องถิ่น. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วีระกุล ชายผา. (2555ข). ศูนย์วิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วีระกุล ชายผา. (2556). ศูนย์วิจัยและพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (รายงานิวัจย). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ศิรพณ โพธิอาภา. (2556). ความร่วมมือในการพัฒนาท้องถิ่นระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดศรีสะเกษ. ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

ศุภกานต์ โสภาพร และอลงกรณ์ อรรคแสง. (2562). สถานภาพองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: พ.ศ. 2547-2560. วารสารการบริหารปกครอง, 8(2), 25-51.

สถาพร เริงธรรม. (2557). ธรรมนูญประชาชนฅนอำนาจเจริญกับการส่งเสริมการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

สถาพร เริงธรรม. (2558). การพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะภาคประชาชน. ขอนแก่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สถาพร เริงธรรม. (2559ก). การเสริมสร้างบทบาทขององค์กรชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดทำบริการสาธารณะของเทศบาลนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 11(2), 65-79.

สถาพร เริงธรรม. (2559ข). องค์กรชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษากรณี: โครงการเทศบาลเล็กในเทศบาลใหญ่ เทศบาลนครขอนแก่น. วารสารราชพฤกษ์, 14(1), 16-24.

สถาพร เริงธรรม. (2560). นโยบายสาธารณะของประชาชน. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2552). การวิจัยเชิงคุณภาพกับการพัฒนาท้องถิ่น. วารสารศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 17(14), 62-67.

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2553). บทบาทที่คาดหวังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอนาคต. วารสารศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 18(1), 4-11.

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2556). การเปลี่ยนแปลงประชาคมหมู่บ้าน: การขยายตัวและความยั่งยืนในชุมชน บ้านคุ้ม ตำบลคูเมือง อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 32(1), 17-36.

สัญญา เคณาภูมิ. (2559ก). กรอบแนวคิดการศึกษานโยบายสาธารณะ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 11(33), 1-16.

สัญญา เคณาภูมิ. (2559ข). การกำหนดนโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและกระบวนการ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(2), 101-126.

สัญญา เคณาภูมิ. (2559ค). การสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัยเชิงสำรวจทางการบริหารจัดการ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(2), 282-309.

สัญญา เคณาภูมิ. (2559ง). นโยบายสาธารณะ: การยุติและการถ่ายโอน. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา, 10(2), 435-455.

สัญญา เคณาภูมิ และเสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร. (2560). กรอบแนวคิดการศึกษาการวางแผนและการบริหารแผน. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์, 4(2), 389-411.

สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. (2554). ประวัติความเป็นมาของสาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560 จาก http://politic.ubru.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1&Itemid=2

สิทธิชัย ตันศรีสกุล. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาชุมชนยั่งยืน กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดมหาสารคาม. วารสารช่อพะยอม, 21, 51-68.

สิทธิชัย ตันศรีสกุล. (2555). การใช้วิถีชุมชนแบบดั้งเดิม เสริมสร้างการบริหารจัดการชุมชนให้เข้มแข็ง กรณีศึกษา บ่อพันขัน จังหวัดร้อยเอ็ด (รายงานวิจัย).วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุนทรชัย ชอบยศ. (2560). การวางแผนยุทธศาสตร์: แนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรพงษ์ พันชะโก, พรสวรรค์ สุวัณณศรีย์, มาริยา เถาอินปาก, อนุกูล นุ่นภูบาล และพชรมณ ใจงามดี. (2555). การพัฒนาศักยภาพชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลนาอ้อ อำเภอเมือง จังหวัดเลย (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

เสกสรรค์ สนวา. (2553). การศึกษาศักยภาพ สภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน อำเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด (รายงานวิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และสมศักดิ์ พรมเดื่อ. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์, 4(3), 501-517.

เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร และสัญญา เคณาภูมิ. (2556). กระบวนการจัดการเรียนรู้ชุมชนด้านศิลปวัฒนธรรมเพื่อยกสถานภาพความเป็นศิลปวัฒนธรรมแห่งประชาคมอาเซียน: กรณีศึกษาชุมชนตำบลกันทรวิชัย อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 7(1), 197-204.

เสาวลักษณ์ นิกรพิทยา. (2552). การมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษา: องค์การบริหารส่วนตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

Boossabong, P. & Fischer, F. (2016). Deliberative Policy Analysis. Oxford: Oxford University Press.

Boossabong, P. & Matthew, T. (2009). Social Capital-based Policy Making: Theoretical Background and Practices. In Various Knowledge in Public Administration and Public Affairs.

Boossabong, P. (2015). Collaborating Urban Farming Networks: To Promote Community Gardens and Alternative Markets as Theaters of Social Action. In Y. Cabannes (Ed.), Asian Cities: Cities by and for the People. Amsterdam University Press.

Boossabong, P. (2017). Policy Analysis in Thailand: A Comparison of Technical and Local Knowledge. Journal of Comparative Policy Analysis, 19(1), 173-183.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-03-31