การตัดสินใจเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชีในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
การตัดสินใจเลือกใช้บริการ, สำนักงานบัญชี, เขตคลองสามวาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับคุณภาพการให้บริการในการใช้บริการสำนักงานบัญชีในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร 2) การตัดสินใจใช้บริการสำนักงานบัญชีในเขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร 3) เปรียบเทียบการตัดสินใจใช้บริการสำนักงานบัญชีจำแนกตามข้อมูลของผู้ประกอบการ
4) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการให้บริการกับการตัดสินใจใช้บริการสำนักงานบัญชี และ 5) คุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสำนักงานบัญชี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร ได้แก่ ผู้ประกอบการที่ใช้บริการสำนักงานบัญชีในเขตคลองสาววา จังหวัดกรุงเทพมหานคร ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา และนำข้อมูลประมวลผลโดยใช้ค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลวิจัยพบว่า
1) คุณภาพการให้บริการในการใช้บริการสำนักงานบัญชีด้านต่างฯภาพรวมอยู่ในระดับสำคัญมาก ได้แก่ ด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ด้านความเชื่อถือไว้วางใจ ด้านการตอบสนองต่อการให้บริการ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อผู้ใช้บริการ และด้านการรู้จักและเข้าใจผู้ใช้บริการ 2) การตัดสินใจใช้บริการภาพรวมอยู่ในระดับสำคัญมากทุกด้าน 3) การเปรียบเทียบการตัดสินใจใช้บริการสำนักงานบัญชีจำแนกตามข้อมูลผู้ประกอบการ พบว่า ทุกด้านเป็นไปตามสมมติฐานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพการให้บริการกับการตัดสินใจใช้บริการสำนักงานบัญชี ผลต่อความเชื่อมั่นของผู้มาใช้บริการ ในภาพรวมมีความสัมพันธ์กับความเชื่อมั่นของผู้มาใช้บริการ ระดับความสัมพันธ์สูงมากทิศทางเดียวกัน และ 5) คุณภาพการให้บริการที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสำนักงานบัญชี การให้บริการมีความเป็นรูปธรรมของการให้บริการระดับความสัมพันธ์สูงสุดและไปในทิศทางเดียวกัน
References
กิตติศักดิ์ มะลัย. (2557). ผลกระทบของการควบคุมภายในเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อประสิทธิภาพการจัดทำบัญชีของวิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษาเอกชนในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ณัฐชญา ชัยผดุง. (2560). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อคอนแทคเลนส์ในเฟสบุ๊คดอทคอม(การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม.
น้ำทิพย์ เนียนหอม. (2560). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่ออาชีวศึกษาในวิทยาลัยเทคโนโลยวิบูลย์บริหารธุรกิจ รามอินทรา (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกริก.
นันทิยา อังกุรวัฒนานุกุล และคณะ. (2562). ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชีของผู้ประกอบการในเขตอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีว ศึกษาเกษตร, 3(1), 37-48.
นภัสสินี เปรื่องการ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชีของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ในเขตภาคกลาง (การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ปุณณภัสสร สุนทรธีรสุทธิ์.(2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชีคุณภาพของ บริษัทจำกัดในจังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2560). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
โศรยา บุตรอินทร์, วราพร เปรมพาณิชย์นุกูล และขจิต ก้อนทอง. (2557). ผลกระทบของการเรียนรู้มาตรฐานการบัญชีที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานทางการบัญชีของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียง เหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 4(33), 118-129.
โสภาพรรณ ไชยพัฒน์. (2563). คุณภาพการบริการของสำนักงานบัญชีในจังหวัดภูเก็ต. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 6(1), 110-119.
สุภาวดี เสนาะกรรณ และ กนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการผู้สอบบัญชีของผู้ประกอบการ. วารสารวิชาการมหาลัยปทุมธานี, 9(2), 240-245.
สุมาลี รามนัฏ และสุภัตรา วันต๊ะ. (2662). คุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการสำนักงานบัญชีของบริษัทจำกัดในเขตอำเภอเมืองจังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้สมการโครงสร้าง. วารสารการเมือง การบริหารและกฎหมาย, 11(1), 103-122.
Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name.
New York, NY: Free Press.
Crosby, P.B. (1979). Quality Is Free: The Art of Making Quality Certain. New York: McGraw-Hill.
Kotler, P., & Armstrong, G. (1993). Marketing an introduction. New Jersey: Prentice Hall.
Parasuraman, A., Berry, L. L. & Zeithaml, V. A.. (1985). A conceptual model of service quality and its implications for future research. Journal of marketing, 49, 41-50.
Perri, & Bellany, C. (2012). Principles of methodology research design in social science. London, UK: Sage
Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (2000). Consumer behavior. (5thed). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Stern, S. (1997). Approximate solutions to stochastic dynamic programs. UK: Cambridge University.
Wagner, J. A., & Hollenbeck, J. R. (2005). Organizational behavior: securing competitive advantage. (5thed.). Mason, Ohio: Thomson/South-Western.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rded.). New York: Harper and Row Publications.
Zeithaml, V. A. et al. (1988). SERVQUAL: A Multi-item Scale for Measuring Consumer. Perception of Service Quality. Journal of Retailing, 64(1), 12-40.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว