การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการของโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
การบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์, โรงเรียนเอกชน, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการของโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร (2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการของโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จำแนกตามอายุ ประสบการณ์ทำงาน (3) เพื่อนำเสนอแนวทางการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการของโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสถานศึกษาในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร จำนวน 21 โรงเรียน มีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 295 คน โดยใช้ตารางประมาณค่า เทียบหาขนาดกลุ่มตัวอย่าง ของเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการ วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เมื่อพบความแตกต่างจึงทดสอบด้วยเทคนิค LSD โดยใช้ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ข้องเพื่อเปรียบเทียบโดยใช้สถิติทดสอบ F-test และทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เมื่อค้นพบความแตกต่างจึงทดสอบด้วยเทคนิค LSD
ผลการวิจัยพบว่า
- ระดับการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการของสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน
- ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการของโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ด้านการวางแผนกลยุทธ์องค์กร จำแนกตามอายุ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ยกเว้น 3 ด้าน คือ 1) ด้านการกำหนดรายละเอียดของตัวบ่งชี้ 2) ด้านการวัดและตรวจสอบผลการดำเนินงาน 3) ด้านการให้รางวัลตอบแทน
- แนวทางการบริหารงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการของโรงเรียนเอกชน เมื่อศึกษาวิจัยเชิงปริมาณพบว่ามีด้านการให้รางวัลตอบแทนที่ได้ค่าเฉลี่ยในระดับปานกลางนำไปสร้างแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ได้แก่การจัดสวัสดิการให้บุคลากรด้วยความเสมอภาค การตรวจสุขภาพ ให้การยกย่องเกียรติคุณ มอบเกียรติบัตร และส่งเสริมให้ได้เข้ารับการอบรมในสถานที่ต่าง ๆ เพื่อนำมาพัฒนาต่อยอดแก่ตนเองและสถานศึกษา
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและ พัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.)
กระทรวงศึกษาธิการ.(2550). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พร้อมกฎหมายที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติ การศึกษาภาคบังคับ
พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ขอบข่ายและภารกิจงานวิชาการตามที่กำหนดในกฎกระทรวงศึกษาธิการ. ค้นเมื่อ 16 มกราคม 2565, จาก http://portal.th/inno-roj/1225
ชุลี รุ่งพานิช. (2552). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และ เขต 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ความเป็นเลิศของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐ (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพาวดี เมฆสวรรค์. (2545). กล้าคิด กล้าทำ กล้านำ กล้าเปลี่ยน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
นภาดา ผูกสุวรรณ. (2553). การบริหารงานวิชาการตามทัศนะของครูโรงเรียนเทศบาล แหลมฉบัง 3 อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
นิรุตต์ มูลสี. (2556). การบริหารงานวิชาการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของผู้บริหาร ครู และนักเรียนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรังสิต.
นิลวรรณ วัฒนา. (2556). การศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดชลบุรี (สารหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
ปิยะชัย จันทรวงศ์ไพศาล. (2554). การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM) = Results-based Management. กรุงเทพฯ: เอช อาร์ เซ็นเตอร์
ประภา สมาคม. (2558). การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์สำหรับสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
พัชรียา อุตมะ. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของกองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 2 สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เพียงเพ็ญ เพียงสันเที๊ยะ. (2553). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอตาพระยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2 (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
มยุเรศ โครตชมพู. (2550). ความคิดเห็นของผู้ปฎิบัติงานต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 1 (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี.
ยงยุทธ ทรัพย์เจริญ. (2555). การพัฒนารูปแบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2556). การบริหารจัดการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. สงขลา: นำศิลป์ โฆษณา.
รุ่งลาวรรณ์ ครองยุติ. (2557). ยุทธศาสตร์การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีประสิทธิผล (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์.(2557). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพฯ: วี.พรินต์.
สุพจน์ ทรายแก้ว. (2545). การจัดการภาครัฐแนวใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สันติ บุญภิรมย์. (2552). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บุคพอยท์.
สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. (2554). แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์สำนักการศึกษา.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556ข). สภาพการดำเนินงานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สุดารัตน์ พลอยระย้า. (2560). การศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการตามหลักการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดพิษณุโลก. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ, 11(1), 109-119.
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2556).
แผนยุทธศาสตร์ส่งเสริมการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2556-2560. กรุงเทพฯ: สกสค. ลาดพร้าว).
อมรเทพ คำเพชร.(2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฎิบัติงานตามความคิดเห็นของพนักงานครูในสถานศึกษาที่ ถ่ายโอนสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออก (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
Atria, Josph P. (2000). The Effect of the lllinois Quality Assurance and Improvement Planning Process on Chicago Public School Teacher Attitudes toward School Improvement. Dissertation Abstracts International, 60(12), 4254
Anna-Luis Cook. (2004). “Managing for Outcome” in the New Zealand Public Management System. (The Master degree). Victoria University of Wellington.
Deming, Edward W. (1995). Out of The Crisis. USA: The Massachusetts Institute of Technology Center for Advanced Engineering Study.
Cronbach, L.J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.) New York: Harper & Row.
Gulick, Luther,&LyndallUrwick. (1973). Paperson the Science of Administration. New York: Columbia University.
Kaplan, R.S. and Norton, D.P. (1996). The Balanced Scorecard : translating strategy in action. Boston: Harvard Busincss School Publishing Corporation.
Minudim, Othman Osman Bin. (1987). The Role of Secondary School Principals as Perceived by Secondary School Principals in Sabah Malaysia (Ph.D. Dissertation). Southern lllinois University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว