ปัจจัยเชิงสาเหตุของขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้าที่ส่งผลต่อ สมรรถนะการขนส่งในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่
คำสำคัญ:
กลยุทธ์จัดหา, กลยุทธ์การปฏิบัติการ, ส่วนประสมการตลาด, ขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้า, สมรรถนะการขนส่งบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้าและสมรรถนะการขนส่งในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ 2) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุของขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้าที่ส่งผลต่อสมรรถนะการขนส่งในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ และ 3) สร้างแบบจำลองของปัจจัยเชิงสาเหตุของขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้าที่ส่งผลต่อสมรรถนะการขนส่งในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประกอบการร้านสะดวกซื้อ จำนวน 540 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยเชิงสาเหตุทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 2) กลยุทธ์จัดหาส่งผลต่อขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้า กลยุทธ์จัดหาส่งผลต่อสมรรถนะการขนส่งผ่านขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้า กลยุทธ์การปฏิบัติการส่งผลต่อขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้า กลยุทธ์การปฏิบัติการส่งผลต่อสมรรถนะการขนส่งผ่านขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้า ส่วนประสมการตลาดส่งผลต่อขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้า ส่วนประสมการตลาดส่งผลต่อสมรรถนะการขนส่งผ่านขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้า และขีดความสามารถในการขนส่งและกระจายสินค้าส่งผลต่อสมรรถนะการขนส่ง 3) การพัฒนาแบบจำลองได้ชื่อว่า Transportation and Distribution Competency for Transportation Performance Model (หรือ TDCTP Model)
References
จุไรพร พินิจชอบ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการผู้ประกอบการขนส่ง ของ กลุ่มผู้ค้าอีคอมเมิร์ซในเขตกรุงเทพมานคร (การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มนชยา ขยันกสิกร และวรินทร์ วงษ์มณี. (2559). การศึกษากลยุทธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้ธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศเพื่อเพิ่มยอดขายใว้กับบริษัท กรณีศึกษา บริษัท XYZ จำกัด. การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ครั้งที่ 16. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
มณีรัตน์ รัตนพันธ์ (2558). ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดภาคใต้ตอนล่างประเทศไทย. วารสารวิชาการหาดใหญ่, 13 (2), 146-153.
วัชราภรณ์ เสนีชัย, ศิริจรรยา เครือวิริยะพันธ์ และ กุลกัญญา ณ ป้อมเพ็ชร์ (2557). พฤติกรรมและปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้เครื่องสำอางสมุนไพรของผู้บริโภคในเขตงเทพมหานคร. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 30(1), 71-79.
สมาคมผู้ค้าปลีกไทย (2563). ยอดขายของร้านสะดวกซื้อในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 14 มกราคม 2565,จาก www.thairetailer.com
Bouwman, M.J. (2017). Customer roles in the last-mile: Improving delivery performance. (Master Thesis). University of Groningen, The Netherlands.
Colburn, R. T. (2013). Determining the effect of the returns management experience on consumer satisfaction. Chancellor’s Honors Program Projects. Retrieved March, 2021, from https://trace.tennessee.edu/utk_chanhonoproj/1584
Ding, Z., Lu, Y., Lai, K., Yang, M., and Lee, W.J. (2020). Optimal coordinated operation scheduling for electric vehicle aggregator and chargingstations in an integrated electricity-transportation system. International Journal of Electrical Power & Energy Systems, 121.
Fawcett, S.E., Magnan, G.M. and McCarter, M.W. (2008). Three–stage implementation model for supply chain collaboration. Journal of Business Logistics, 29(1), 93-112.
Gajewska Teresa & Grigoroudis Evangelos (2015). Importance of logistics services attributes influencing customer satisfaction. Inderscience Enterprises Ltd.
Hair, J., Black, W., Babin, B., Anderson, R. and Tatham, R. (2006) Multivariate data analysis. 6th Edition. Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.
Jahre, M., Dumoulin, L., Greenhalgh, L. B., Hudspeth, C., Limlim, P., and Anna, S. (2012). Improving health in developing countries: reducing complexity of drug supply chains. Journal of Humanitarian Logistics and Supply Chain Management, 2 (1), 54.
Kurganov, V., Dorofeev, A., Gryaznov, M., and Yakimov, M. (2021). Process mining as a means of improving the reliability of road freight transportations. Transportation Research Procedia, 54, 300–308.
Kwok, L., Tang, Y., and Yu, B. (2020). The 7 Ps marketing mix of home-sharing services: Mining travelers’ online reviews on Airbnb. International Journal of Hospitality Management, 90, 102616.
Milicic, M. and Savkovic, T. (2018). Marketing Mix in Transport. Conference Paper, January, 2018.
Negi, D.S., Birthal, P.S., Roy, D., and Khan, T. (2018). Farmers’ choice of market channels and producer prices in India: Role of transportation and communication networks. Food Policy, 81, 106-121.
Stevenson, M. and Spring, M. (2007). Flexibility from a supply chain perspective: definition and review. International Journal of Operations & Production Management, 27(7),685-713.
Toymentseva, I., Karpova, N., Toymentseva, A., Chichkina, V., and Efanov, A. (2016). Methods of the development strategy of service companies: logistical approach. International Journal of Environmental and Science Education, 11(14), 6820-6836.
Vaiciute, K., Skirmantiene, J., and Domanska, L. (2017). Assessment of transport specialists’ competencies in transport/logistics companies. Procedia Engineering, 187, 628-634.
Yenyuak, C.(2020). Organization Communication. Pathumthani: Rangsit University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว