การบริหารจัดการ และพฤติกรรมการรับรู้ และการตัดสินใจซื้อวัสดุอุปกรณ์ป้องกัน การแพร่เชื้อไวรัสโควิด 19 ของพื้นที่ควบคุมสูงสุด
คำสำคัญ:
ไวรัสโควิด-19, การบริหารจัดการ, พื้นที่ควบคุมสูงสุดบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริการจัดการ การรับรู้และพฤติกรรม และการตัดสินใจการซื้ออุปกรณ์ควบคุมป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ของพื้นที่ควบคุมสูงสุด ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร ขนาดกลุ่มตัวอย่าง คำนวณจากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ด้วยตารางเครจซี่และมอร์แกน รวมทั้งสิ้น จำนวน 400 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ที่ได้จัดเตรียมไว้ กระจายไปตามแต่ละครัวเรือน ที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร จำนวน 50 เขต เขตละ 8 ครัวเรือน วิเคราะห์ด้วยค่าสถิติพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การบริการจัดการการรับรู้และพฤติกรรม และการตัดสินใจการซื้ออุปกรณ์ควบคุมป้องกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) ของพื้นที่ควบคุมสูงสุดอยู่ในระดับมาก
References
กิตติพร เนาว์สุวรรณ, นภชา สิงห์วีรธรรม และ นวพร ดำแสงสวัสดิ์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความรุนแรงของโรคต่อบทบาทการดำเนินงานควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในประเทศไทย. วารสารสถาบันบำราศนราดูร, 14(2), 92-103.
จิตรา วุฒิสิทธิกุล. (2549). การรับรู้ของลูกจ้างและนายจ้างต่อสื่อประชาสัมพันธ์ของ สำนักงานประกันสังคม (วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธานี ชัยวัฒน์ และคณะ. (2563). เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมว่าด้วยเส้นทางชีวิตและกิจกรรมร่วมของครัวเรือนไทยภายใต้สถานการณ์ COVID-19. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
นภชา สิงห์วีรธรรม และคณะ. (2020). การรับรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของทันตาภิบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารสถาบันบำราษนราดูล, 14(2), 104-115.
นิอร อริโยทัย และคณะ. (2563). ความเชื่อมั่นในสถาบันเฉพาะทางด้านโรคติดต่ออันตราย และการตัดสินใจมารับบริการสุขภาพในช่วงการระบาดโรค COVID-19. วารสารสถาบันบำราศนราดูร, 14(2), 80-91.
บุญทัน ดอกไธสง. (2553). ขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์ยุคโลกาภิวัตน์ Global Paradigm of Public Management. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
ปิยะนุช เหลืองาม. (2552). บรรทัดฐานในการตัดสินใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในการเรียนวิทยาศาสตร์เรื่อง ภาวะโลกร้อน ตามแนวทางการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสังคม (STS). (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พิทยา บวรวัฒนา. (2556). การบริหารรัฐกิจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มัลลิกา ต้นสอน. (2554). พฤติกรรมองค์กร (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
วลัยพร พัชรนฤมล และคณะ. (2562). การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย (รายงานวิจัย). สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
วิไล กุศลวิศิษฎ์กุล และคณะ (2552). สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ. เอกสารการ สอนชุด หน่วยที่ 1-8 และหน่วยที่ 9-15 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ.นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศาลาว่าการกรุงเทพฯ 1 กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ. (2562). สถิติด้านสังคม 2562. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2564, จาก http://www.bangkok.go.th/pipd/page/sub/18654
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2542). องค์การและการจัดการ ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.
สถาบันมาตรฐานอังกฤษ (BSI). การบริหารจัดการทั่วไปในกรณีเหตุโควิด-19. BSI-GD-Series-Covid-04R0. ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2564, จาก https://www.bsigroup.com/globalassets/localfiles/en-th/covid-19remote-audit/gd-bsi-covidseries-04-.pdf
สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย. (2563). องค์ความรู้เกี่ยวกับเชื้อไวรัสโคโรน่า (Coronaviruses). ค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2564, จาก https://www.pidst.or.th/A215.html
สุนทรี โคมิน. (2553). การพัฒนาแนวความคิดทฤษฎีจิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: เอราวัณ.
Drucker, P.F. (1957). The landmarks of tomorrow. New York, NY: Harper & Row.
Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970) Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.
McKenzie, J. F., Neiger, B. L. & Smeltzer, J. L. (2005). Planning, implementing, and evaluating health promotion programs. San Franciaco: Preson Education.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว