ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตระหนักรู้ในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

ผู้แต่ง

  • ประกาศ ปาวา ทองสว่าง คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
  • ธนกร พงษ์ภู่ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

คำสำคัญ:

ปัจจัยที่ส่งผล, ความตระหนักรู้, วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

บทคัดย่อ

บทความนี้วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับความตระหนักรู้ในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามและ2). เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตระหนักรู้ในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามจำนวน
300 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า
1)ระดับความความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับความตระหนักรู้ในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ ปัจจัยด้านปัจจัยภายนอก ปัจจัยด้านปัจจัยภายใน และปัจจัยด้านความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก และ2) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ ปัจจัยด้านปัจจัยภายนอก ปัจจัยด้านปัจจัยภายใน และปัจจัยด้านความพึงพอใจ ส่งผลต่อความตระหนักรู้ในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.05

References

กาญจนาพร จิตตจํานงค์,อุษา ศิลป์เรืองวิไลและบัณฑิต รัตนไตร. (2564). การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคอาหารเช้าของคนไทย. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation, 8(5), 407-414.

ชุลี กอบวิทยาวงศ์และสราวุธ อนันตชาติ. (2566). ผลของสีบรรจุภัณฑ์และประเภทสินค้าต่อพฤติกรรมผู้บริโภค. Journal of Communication Arts, 41(1), 1-22.

ฐานิดา สุริยะวงศ์,วัชระ เวชประสิทและวิวิศณ์ สุขแสงอร่าม. (2565). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของคุณภาพการบริการทางอิเล็กทรอนิกส์และประสบการณ์ลูกค้าที่มีต่อความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้าธุรกิจจาหน่ายสินค้าแฟชั่นออนไลน์. วารสาร บริหาร ศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี, 11(2), 118-139.

ณัฐพงศ์ วิชัยดิษฐ์และผกามาศ ชัยรัตน์. (2563). ภาพลักษณ์การท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวในอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. 9(2), 183-192.

ทวีศักดิ์ สหะเดชและปฐมา สตะเวทิน. (2566). การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคกลุมเจนเนอเรชันวายที่มีความสนใจในการบริโภคสินคากลุมความงามบนแพลตฟอรมอินสตาแกรม. Journal of Business Administration and Languages (JBAL), 11(1), 16-34.

ธัญลักษณ์ ถาวรจิต. (2564). การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพในเทศบาลนครหาดใหญ่จังหวัดสงขลา. วารสารบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยแม่โจ้, 3(1), 41-56.

ธิติ เกตุทัต นฤมล กิมภากรณ์และกิตตินุช ชุลิกาวิทย์. (2563). อิทธิพลของภาพลักษณ์องค์กรและภาพลักษณ์ตราผลิตภัณฑ์ต่อคุณภาพความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริโภคกับตราผลิตภัณฑ์ในกลุ่มธุรกิจธนาคาร วารสารการสื่อสารและสื่อบูรณาการ, 8(1), 1-33.

พนารัตน์ มาศฉมาดล. (2565). ความตระหนักรู้ของเจ้าหน้าที่รัฐต่อการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 8(1), 167-184.

รินระดา นิโรจน์และสุพิชา บูรณะวิทยาภรณ์. (2565). ปัจจัยด้านภาพลักษณ์แหล่งท่องเที่ยวและคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวสูงวัยชาวไทยในการท่องเที่ยวในประเทศ. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(4), 81-92.

วนิชย์ ไชยแสง (2564). อิทธิพลของพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีต่อความตั้งใจซื้อและความเต็มใจจ่ายเพื่อซื้อผักอินทรีย์ ในประเทศไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 13(1), 30-44.

วัฒนา เอกปมิตศิลป์, สมศักดิ์ ตันตาศนี, ประสงค์ อุทัย และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2564). ปัจจัยความพึงพอใจที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้แอปพลิเคชันอาหารในเขตเทศบาลนครสมุทรสาคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 40(6), 69-79.

วัลลภา ปิ่นวิรุฬห์และปราณี เอี่ยมลออภักดี. (2561). ปัจจัยภายในและปัจจัยทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการสินเชื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารออมสิน เขตสมุทรปราการ. การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาครั้งที่ 13. 924-932.

Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York: Free Press.

Belch, G. E., & Belch, M. A. (2018). Advertising and Promotion: An Integrated Marketing Communications Perspective. New York: McGraw-Hill Education.

Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. psychometrika, 16(3), 297-334.

Dailynews. (2022). มหาวิทยาลัย’ แข่งขันดุเดือด! แก้วิกฤติใหญ่ขาดแคลนนักศึกษา. ค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2022, จาก https://www.dailynews.co.th/articles/1824800/

Hawkins, D. I., & Mothersbaugh, D. L. (2010). Consumer Behavior: Building Marketing Strategy. New York: McGraw-Hill Education.

Judge, T. A., Bono, J. E., Erez, A., & Locke, E. A. (2005). Core Self-Evaluations and Job and Life Satisfaction: The Role of Self-Concordance and Goal Attainment. Journal of Applied Psychology, 90(2), 257–268.

Kapferer, J. N. (2008). The new strategic brand management: Advanced insights and strategic thinking. Fifth Edition: Kogan Page Publishers.

Keller, K. L. (1993). Conceptualizing, measuring, and managing customer-based brand equity. Journal of Marketing, 57(1), 1-22.

King, G., & Gareau, A. (2007). Emotional appraisal of environmental stimuli. Current Opinion in Neurobiology, 17(5), 584-589.

Kotler, P. (2003). Marketing management (11th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.

Kotler, P., Keller, K. L., & Brady, M. (2019). Marketing Management. Pearson Education Limited, Harlow.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Educational and Phycological Measurement. Washington, DC: The Mid Atlantic Equity Center.

Nelson, D. L., Reed, U. S., & Walling, J. R. (1976). Pictorial superiority effect. Journal of Experimental Psychology: Human Learning and Memory, 2(5), 523-528.

Oskamps, S. (1984). Applied social psychology. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Pessoa, L. (2008). "On the relationship between emotion and cognition." Nature Reviews Neuroscience, 9(2), 148-158.

Randall, G. (2000). Branding: A practical guide to planning your strategy. London: Kogan.

Solomon, M. R. (2019). Consumer Behavior: Buying, Having, and Being. Pearson.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31