ปรากฏการณ์ช่วงของฤดูกาลที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าช่วงของฤดูกาลอื่น ในตลาดหลักทรัพย์ไทย

ผู้แต่ง

  • กัลยานี ภาคอัต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • ชยงการ ภมรมาศ ภาควิชาการเงินและการธนาคาร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • โยธิน ทวีกิติกุล สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

คำสำคัญ:

ผลตอบแทนหลักทรัพย์, ช่วงของฤดูกาลที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าช่วงของฤดูกาลอื่น, ตลาดหลักทรัพย์ไทย

บทคัดย่อ

       

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลตอบแทนหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ไทย และ
2) ค้นหาช่วงของฤดูกาลที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าช่วงของฤดูกาลอื่นในตลาดหลักทรัพย์ไทย โดยศึกษาจากข้อมูลดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และดัชนีตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ สำหรับระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2518 ถึงเดือนตุลาคม 2566 และเดือนพฤศจิกายน 2545 ถึงเดือนตุลาคม 2566 ตามลำดับ  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และสมการถดถอยแบบอนุกรมเวลา

ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลตอบแทนรายเดือนเฉลี่ยของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยประมาณร้อยละ 0.74  ในขณะที่ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ คือ ร้อยละ 0.78  และ 2) ไม่พบปรากฏการณ์
ช่วงของฤดูกาลที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าช่วงของฤดูกาลอื่นในตลาดหลักทรัพย์ไทย  เป็นที่น่าสนใจคือผลการศึกษาให้ข้อมูลว่าเดือนเมษายนเป็นเดือนที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าเดือนอื่น  ในขณะที่เดือนพฤษภาคม และธันวาคม (เฉพาะตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ)  เป็นเดือนที่ให้ผลตอบแทนต่ำกว่าเดือนอื่นในตลาดหลักทรัพย์ไทยด้วยนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 0.10

References

กัลยานี ภาคอัต. (2558). เดือนของปีที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าเดือนอื่นในตลาดหลักทรัพย์ไทย สิงค์ไปร์ และมาเลเซีย. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, มหาวิทยาลัยมหานครเทคโนโลยี, 12 (1), 22-35.

กัลยานี ภาคอัต, ชยงการ ภมรมาศ และและโยธิน ทวีกิติกุล. (2567). เดือนของปีที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าเดือนอื่นและปริมาณการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์

เอ็ม เอ ไอ. การประชุมวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ “การพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน” ครั้งที่ 2: นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์. วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2567. 789-800.

ณัฐวุฒิ เจนวิทยาโรจน์. (2560). การศึกษา “ช่วงของฤดูกาลที่ให้ผลตแบแทนที่สูงกว่าช่วงของฤดูกาลอื่น” ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ นิด้า, 20, 117-132.

สุคม สืบตระกูล, ชยงการ ภมรมาศ และกัลยานี ภาคอัต. (2559). พฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนรายย่อยในตลาดหลักทรัพย์ไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาการจัดการ สาขาวิชาวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วันที่ 20 สิงหาคม 2559. 49 – 66.

Andrade, C., Chhaochharia, V., and Fuerst, E. (2013). Sell in May and Go Away, Just Won’t Go Away. Financial Analyst Journal, 69(4).

-105.

Bouman, S., and Jacobsen, B. (2002). The Halloween Indicator, “Sell in May and Go Away”: Another Puzzle. American Economic Review, 92(5), 1618-1635.

Carrazedo, T., Curto, D., and Oliveira, L., (2016). The Halloween Effect in European Sectors. Research in International Business and Finance, 37, 489-500.

Dichtl , H., and Drobetz, W., (2015). Sell in May and Go Away: Still Good Advice for Investors?. International Review of Financial Analysis, 38, 29-43.

Guo, B., Luo, X., and Zhang, Z., (2014). Sell in May and Go Away: Evidence from China. Finance Research Letters, 11(4), 362-368.

Haggard, S., and Witte, D., (2010). The Halloween Effect: Trick or Treat?. International Review of Financial Analysis, 19(5), 379-387.

Hayati, R., Irman, M., and AgiA, n., (2020). Sell in May and Go Away or Just Another January Effect? Studied of Anomaly in Indonesia Stock Exchange. Internation Journal of Economics Development Research, 1(1), 45-56.

Jacobsen, B., and Visaltanachoti, N., (2009). The Halloween Effect in U.S. Sectors. The Financial Review, 44(3), 437-459.

Jacobsen, B., and Zhang, Y., (2014). The Halloween Indicator, ‘Sell in May and Go Away: An Even Bigger Puzzle. Bouman and Jacobsen: The Halloween Indicator,92(5), 1-84.

Lean, H., (2011). The Halloween Puzzle in Selected Asian Stock Markets. International Journal of Economics and Management, 5(1). 216-225.

Levis, M. (1985). Are Small Firm Big Performers?. Investment Analyst, 76, 21-27.

Maberly, D., and Pierce, M., (2003). The Halloween Effect and Japanese Equity Prices: Myth or Exploitable Anomaly. Asia-Pacific Financial Markets, 10, 319-334.

Mubarok, F., and Fadhli, M., (2020). Efficient Market Hypothesis and Forecasting of the Industrial Sector on the Indonesia Stock Exchange. Journal of Economics, Business, & Accountancy Ventura, 23 (2), 160-168.

O’Higgins, M., and Downs, J., (1990). Beating the Dow, A High-Return-Low-Risk Method Investing in Industrial Stocks with as Little as $5000. New York: Harper Collins.

Ocal, H., Imre, S., and Kamil, A., (2021). The “Sell in May” Effect: An Empirical Analysis from Turkey, Indonesia, France, and Germany. Hong Kong Journal of Social Sciences, 58, 239-251.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-30