ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการสินค้า OTOP จังหวัดราชบุรี
คำสำคัญ:
ความได้เปรียบทางการแข่งขัน, ผู้ประกอบการ, สินค้า OTOPบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความได้เปรียบทางการแข่งขัน ปัจจัยทรัพยากรพื้นฐาน การจัดการความรู้เชิงนวัตกรรม และปัจจัยการดำเนินงาน ของผู้ประกอบการสินค้า OTOP จังหวัดราชบุรี และ 2) เพื่อศึกษาความสอดคล้องแบบจำลองสมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน ของผู้ประกอบการสินค้า OTOP จังหวัดราชบุรี ประชากรกลุมตัวอย่าง จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ได้แก แบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเชิงพรรณนา ได้แก คาเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแบบจำลองสมการโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบวา 1) ระดับความคิดเห็นปัจจัยทรัพยากรพื้นฐาน การจัดการความรู้เชิงนวัตกรรม ปัจจัยการดำเนินงาน และปัจจัยความได้เปรียบทางการแข่งขัน อยู่ในระดับมากที่สุด และ 2) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องแบบจำลองสมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการสินค้า OTOP จังหวัดราชบุรี พบว่าตัว 3 ตัวแปร คือ ปัจจัยทรัพยากรพื้นฐาน การจัดการความรู้เชิงนวัตกรรม และปัจจัยดำเนินงาน ส่งผลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการสินค้า OTOP จังหวัดราชบุรี อย่างมีนัยสำคัญที่ 0.01 ผลการวิจัยดังกล่าวสามารถเป็นแผนการพัฒนาผู้ประกอบการสินค้า OTOP และสามารถเป็นข้อมูลเสริมหน่วยงานภาครัฐ ต่อการกำหนดนโยบายเสริมธุรกิจฐานรากของชุมชนให้เข้มแข็งสู่สากลต่อไป
References
Apisith Techanitisawat. (2021). Strategies to Create Competitive Advantage in the Export-Oriented Frozen Shrimp Business in Thailand (Doctor of Business Administration). North Bangkok University.
Boon Ying Khong Acha Pattra. (2019). Three Weaknesses of "Thai OTOP" and Five Success Tips of 20 Thai Brands Competing Worldwide (College of Management). Mahidol University (CMMU).
Department of Community Development. (2018). Background, Concepts, and Principles of OTOP: One Tambon One Product. Bangkok: Ministry of Interior.
Jutharat Utchin. (2019). Marketing Strategies for One Tambon One Product of Community Producers in Phen District, Udon Thani Province. The 5th National Conference on Digital Era Public Affairs Administration, 738-749.
Napat Phukiert. (2018). Competitive Drivers Affecting Competitive Advantage and Operational Success of Condominium Businesses in Bangkok. (Master of Business Administration). Bangkok University.
Natthawut Khunudom. (2019). A Study on Competitive Strategy Development for Aluminum Glass Installation Contractors in Residential Building Projects in Bangkok and its Vicinity. (Master of Science, Faculty of Architecture and Urban Planning). Thammasat University.
Priyaphan Poomrahong. (2019). Management Innovations Affecting Organizational Success in Business. (Master's Thesis in Business Administration, Department of Management). Ramkhamhaeng University.
Sanitdej Jintana. (2022). Guidelines for Developing Business Innovation Management Capabilities to Gain Competitive Advantage of Community Enterprises in Pathum Thani Province. Journal of Public Administration and Politics, 11(2), 87-107.
Supaporn Prommarueng. (2018). Guidelines for Upgrading OTOP Food Products of Mae Ban Rim Rong Community Enterprise, Makuea Chae Subdistrict, Mueang District, Lamphun Province. Journal of Social Sciences, Srinakharinwirot University, 21, 248-258.
Sutthisak Klin Kaew Narong. (2015). Packaging Design to Promote OTOP Products. Journal of the Department of Science Service, 63(199), 19-21.
Thiyada Phichayasupakol. (2020). The Causal Relationship between Accounting and Financial Risks, Internal Organization Management, and Supply Chain Performance of the Automotive and Automotive Parts Industry in Thailand. Journal of Economics and Management Strategy, 7(2), 77-92.
Winai Rangsinaan. (2021). Human Resource Management and Development Factors Affecting Competitive Advantage in the Future Automotive Industry in the Eastern Economic Corridor of Thailand. Journal of Research in Humanities and Social Sciences, Western University, 7(3), 126-138.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว