การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนอนุบาลทรัพย์ปัญญา ตามแนวคิดภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี

Authors

  • วรัฎฐา จงปัตนา
  • สืบสกุล นรินทรางกูร ณ อยุธยา

Keywords:

TECHNOLOGY LEADERSHIP FOR TEACHER, TEACHER DEVELOPMENT

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็น              ของการพัฒนาครูโรงเรียนอนุบาลทรัพย์ปัญญาตามแนวคิดภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ผู้ให้ข้อมูล คือ ครูโรงเรียนอนุบาลทรัพย์ปัญญา จำนวน 54 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าดัชนีลำดับความสำคัญ  ของความต้องการจำเป็น (PNIModified)

ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูโรงเรียนอนุบาลทรัพย์ปัญญาตามแนวคิดภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (M = 3.68, SD 0.397) และสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูโรงเรียนอนุบาลทรัพย์ปัญญาตามแนวคิดภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (M = 4.89, SD = 0.196)     เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทั้งสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี ด้านการบูรณาการเทคโนโลยีในการจัดการศึกษามีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 2) ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนอนุบาลทรัพย์ปัญญา ตามแนวคิดภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี พบว่า ด้านที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด คือ การมีวิสัยทัศน์ (PNIModified = 0.353) และด้านที่มีความต้องการจำเป็นน้อยที่สุด คือ การเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล (PNIModified = 0.310)

References

กนกวรรณ โพธิ์ทอง และคณะ. (2559). ผลของภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนและบรรยากาศโรงเรียน โดยมีการรู้เทคโนโลยีและการบูรณาการเทคโนโลยีในการสอนของครูเป็นสื่อกลาง ต่อประสิทธิผลครูในโรงเรียนดีศรีตำบล ระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนกันยายน – ธันวาคม 2559.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก : https://person.mwit.ac.th/ 01-Statutes/NationalEducation.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2561.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.

จิรพล สังข์โพธิ์และคณะ. (2560). ภาวะผู้นำในการบริหารองค์กรยุคดิจิทัล กรณีศึกษา : องค์กรไอทีและ
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับไอทีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เจษฎา รัตนสุพร. (2560). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของโรงเรียนระดับประถมศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน.

ชวลิต เกิดทิพย์. (2550). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีการศึกษาสำหรับผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคใต้. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

ทอฝัน กรอบทอง และคณะ. (2560). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำของครูเทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. สุทธิปริทัศน์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. ปีที่ 31 ฉบับที่ 99 เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2560. สืบค้นจาก : https://www.dpu.ac.th/dpurc/assets/uploads/magazine/akc47vbjck8c0w40og.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561.

ธนกฤต พราหมณ์นก. (2560). การศึกษาองค์ประกอบด้านภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2560.

บรรจบ บุญจันทร์. (2554). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิศสุภา ปัจฉิมสวัสดิ์. (2552). การวิเคราะห์ปัจจัยภาวะผู้นำของหัวหน้าภาควิชาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของภาควิชาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2561). การบริหารการศึกษาใหม่: New Education Governance. การประชุมวิชาการราชบัณฑิตสัญจร. สำนักธรรมศาสตร์ และการเมือง ประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาและมหาวิทยาลัยบูรพา.

ภัทรา ธรรมวิทยา. (2558). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารโรงเรียนเอกชน ระดับประถมศึกษาในเขตธนบุรี. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา. เดือนกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. 2558. หน้า 126-138. ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาสกร เรืองรอง. (2557). เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21. วารสารปัญญาภิวัฒน์. ปีที่ 5 ฉบับพิเศษ ประจำเดือนพฤษภาคม, 195-207.

ราชกิจจานุเบกษา. กฎกระทรวง : กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัด การศึกษา พ.ศ. 2550. (2550). เล่ม 124. ตอนที่ 24ก. สืบค้นจาก :
https://backoffice.onec.go.th/uploaded/Category/Laws/RuleMetDistEdMnt2550-02-12-2010.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2561.

ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550. (2550). เล่ม 125. ตอนที่ 7ก. สืบค้นจาก : https://www.opec.go.th/ckfinder/userfiles/files/0.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2561.

วาสนา ศรีอัครลาภและจิราวรรณ คงคล้าย. (2559). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การแห่งยุคสารสนเทศสู่องค์การยุคใหม่ในอนาคต. วารสารฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ. มหาวิทยาลัยศิลปากร, ปีที่ 9(2), 328-338.

สืบสกุล นรินทรางกูร ณ อยุธยา. (2561). ภาวะผู้นำในการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษา: การบริหารทรัพยากรมนุษย์. สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2558). ภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี: การนำเทคโนโลยีสู่ห้องเรียนและโรงเรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 16 ฉบับที่ 4 เดือนตุลาคม – ธันวาคม, 216-224.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2549). คู่มือประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2551). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

อุดมศักดิ์ ฉัตรทอง. (2551). การศึกษาสมรรถนะการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนโครงการหนึ่งอำเภอหนึ่งโรงเรียนในฝัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในภาคกลาง. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกชัย กี่สุขพันธ์. (2538). การบริหาร ทักษะและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ.

International Society for Technology in Education. (2009). ISTE Standards for Administrators.
Retrieved from: https://www.iste.org

International Society for Technology in Education. (2019). ISTE Standards for Education Leaders. Retrieved from: https://www.iste.org/standards/for-education-leaders

NETS-A. (2009). National Education Technology Standards and Performance Indicator for
administrators. Retrieved from https://www.iste.org/404?aspxerrorpath=/docs/pdfs
/NETS_for_Administrators_2009-EN.pdf

Ron Rabin. (2014). Blended Learning for Leadership: The CCol; .L Approach. Center for Creative Leadership.

Downloads

Published

2019-12-09

How to Cite

จงปัตนา ว., & นรินทรางกูร ณ อยุธยา ส. (2019). การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนอนุบาลทรัพย์ปัญญา ตามแนวคิดภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยี. An Online Journal of Education, 14(2), OJED1402030 (12 pages). Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/186975