การศึกษากรอบแนวคิดการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลตามแนวคิดความพร้อมในการเข้าเรียนประถมศึกษา

Authors

  • ชนิษฐา จำเนียรสุข Faculty of Education Chulalongkorn University
  • ชญาพิมพ์ อุสาโห

Keywords:

ACADEMIC MANAGEMENT, PRIVATE KINDERGARTEN SCHOOLS, PRIMARY SCHOOL READINESS

Abstract

การศึกษานี้เป็นการวิจัยเอกสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากรอบแนวคิด 2 กรอบแนวคิด ได้แก่ 1) การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาล และ 2) ความพร้อมในการเข้าเรียนประถมศึกษา โดยใช้การวิเคราะห์ค่าความถี่ และวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องจำนวน 8 ฉบับ

ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาล ประกอบด้วย 4 ขอบข่ายงาน ได้แก่ 1.1) การพัฒนาลักสูตรสถานศึกษา 1.2) การจัดประสบการณ์ 1.3) การจัดสภาพแวดล้อม สื่อและแหล่งเรียนรู้ และ 1.4) การประเมินพัฒนาการ  และ 2) กรอบแนวคิดความพร้อมในการเข้าเรียนประถมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 2.1) ความพร้อมของผู้เรียน 2.2) ความพร้อมของโรงเรียน และ 2.3) ความพร้อมของครอบครัว

References

กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. (2550, 16 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอนที่ 24. หน้า 29–36.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. สืบค้นจาก https://drive.google.com/file/d/15UOeMxOyTXbKw0NQkCieb0XY_HFR8ACD/view

จีระพันธุ์ พูลพัฒน์, สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา, อุดมลักษณ์ กุลพิจิตร, บุษบง ตันติวงศ์, วรวรรณ เหมชะญาติ, ศศิลักษณ์ ขยันกิจ, ... อุไรวาส ปรีดีดิลก. (2554). ปฐมวัย ชุดฝึกอบรมครู. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนัญญา ประสิทธิ์พรพงศ์ และ ชญาพิมพ์ อุสาโห. (2016). การศึกษาประสิทธิผลของการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนวีรศิลป์ จังหวัดกาญจนบุรี. Online Journal of Education, 11(4), 227-242.

ปนัฐษรณ์ จารุชัยนิวัฒน์. (2560). การส่งเสริมความพร้อมทางการเรียน: รอยเชื่อมต่อที่ราบร่นจากชั้นอนุบาลสู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วารสารครุศาสตร์, 45(2), 152-169.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2544). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

ยศวีร์ สายฟ้า. (2557). รอยเชื่อมต่อการเรียนรู้ระหว่างชั้นเรียนอนุบาลและประถมศึกษา: ก้าวย่างที่สำคัญของเด็กประถมศึกษา. วารสารครุศาสตร์, 3, 143-159.

วิเชียร ยอดจักร์. (2014). การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาเอกชนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 1 (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). สืบค้นจาก https://
ir.swu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/3526/Wichean_Y.pdf?sequence=1

ศศิลักษณ์ ขยันกิจ และ บุษบง ตันติวงศ์. (2559). การประเมินอย่างใคร่ครวญต่อเด็กปฐมวัย แนวคิดและการปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทย. (2560). การส่งเสริมความสามารถทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: บริษัท พลัสเพรส จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. สืบค้นจาก https://www.kuchinarai.ac.th/document/57/Job02.pdf

อุทัย บุญประเสริฐ. (2540). หลักสูตรและการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ เอส ดี เพรส.

Bronfenbrenner, U. (1979). The ecology of human development. Harvard university press.

Heckman, J. J. (2006). Skill Formation and the Economics of Investing in Disadvantaged Children. SCIENCE, 312.

UNICEF. (2012a). School Readiness and transitions. New York: UNICEF.

UNICEF. (2012b). School Readiness: a conceptual framework. Retrieved from https://www.
unicef.org/earlychildhood/files/Child2Child_ConceptualFramework_FINAL(1).pdf

Downloads

Published

2019-10-15

How to Cite

จำเนียรสุข ช., & อุสาโห ช. (2019). การศึกษากรอบแนวคิดการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลตามแนวคิดความพร้อมในการเข้าเรียนประถมศึกษา. An Online Journal of Education, 14(2), OJED1402025 (11 pages). Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/188047