การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Authors

  • สุภชาวัลย์ ชนะศักดิ์
  • วีรพล แสงปัญญา

Keywords:

PROBLEM-BASED LEARNING, EMPATHY, CYBERBULLYING

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านย่านตาขาว ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ และแบบประเมินการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดลองโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ (One-way Repeated Measure ANOVA) และการทดสอบค่าที (T- test for Independent Samples)

ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) ภายหลังการทดลอง และในระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ภายหลังการทดลอง และในระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

References

กนก จันทรา. (2555). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา และความรับผิดชอบต่อสังคมของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5. (วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

กันยกานต์ โสภา. (2559). ผลของการพัฒนาการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จุรีวรรณ ปัญจมนัส. (2554). ผลของการใช้โปรแกรมอภิปรายกลุ่มย่อยที่มีต่อการหยั่งรู้ความรู้สึกนึกคิดของผู้อื่นของ นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัศนีย์ สุริยะไชย. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างการตระหนักรู้ในตนเองกับการร่วมรู้สึกในวัยรุ่น. (สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา. (2551). เอกสารประกอบการสอนรายวิชานวัตกรรม วิธีการสอนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ.

พิจิตร อุตตะโปน. (2550). ชุดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วาสนา ภูมี. (2555). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และความสามารถในการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. (ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิมลทิพย์ มุสิกพันธ์ (2559). ผลสำรวจพฤติกรรมการกลั่นแกล้งกันในโลกไซเบอร์ของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร ปี 2559. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สถาบันรามจิตติ (2553). Child watch Project. สืบค้นจาก https://www.teepath.net/data/r-research/00011/tpfile/00001.pdf

Ang, R.P. & Goh, D.H. (2010). Cyberbullying Among Adolescents: The Role of Affective and Cognitive Empathy, and Gender. Child Psychiatry & Human Development, (41)4, 387-397. Retrieved from https://vpn.chula.ac.th/+CSCO+0075676763663A2F2F797661782E66636576617472652E70627A++/content/pdf/10.1007%2Fs10578-010-0176-3.pdf

Brewer, G. & Kerslake, J. (2015). Cyberbullying, self-esteem, empathy and loneliness. Computers in Human Behavior, 48, 255-260. Retrieved from https://vpn.chula.ac.th/+CSCO+007567676363A2F2F6E702E7279662D7071612E70627A++/S0747563215001016/1-s2.0-S0747563215001016-main.pdf?_tid=d4b75f52-b30c-11e7-83e6-00000aacb35e&acdnat=1508225515_a9819b2d2092e3dfd28ee867fc352891

Bruner, J. (1956). In Search of Mind: Discovery Approach Theory. New York: Harper & Row.

Owusu, S. & Zhou, L. (2015). Positive bystanding behavior in cyberbullying: The impact of empathy on adolescents' cyber bullied support behavior. Intelligence and Security Informatics (ISI), 2015 IEEE International Conference on 27-29 May 2015, 163-165. Retrieve from https://vpn.chula.ac.th/+CSCO+107 56767633A2F2F767272726B63796265722E767272722E626574

Patchin, J. W. (2015). Bullies move beyond the schoolyard: A preliminary look at Cyberbullying. Youth Violence and Juvenile Justice, 148-169.

Piaget, J. (1978). What is psychology? American Psychologist, 33(7), 648-652. Retrieve from https://dx.doi.org/10.1037/0003-066X.33.7.648

Steffgen, G., König, A., Pfetsch, J. & Melzer, A. (2009). The role of empathy for adolescents' cyberbullying behavior. Kwartalnik Pedagogiczny, 214(4), 183-198. Retrieve from https://orbilu.uni.lu/bitstream/10993/4388/1/The%20role%20of%20emathy%20for%20adolescents%27%20cyberbullying%20behaviour.pdf

Udris, R. (2015). Cyberbullying in Japan: An exploratory study. Osaka: Japan.

Downloads

Published

2019-12-26

How to Cite

ชนะศักดิ์ ส., & แสงปัญญา ว. (2019). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. An Online Journal of Education, 14(2), OJED1402044 (11 pages). Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/192159