การศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการบริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Authors

  • เกวลิน ศรีภิรมย์ นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาบริหารการศึกษา ภาควิชา นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ชญาพิมพ์ อุสาโห อาจารย์ประจาสาขาวิชา บริหารการศึกษา ภาควิชา นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

SATISFACTION, MANAGEMENT, PDCA, PLANNING, DOING, CHECKING, ACTING

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการบริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ นิสิตชั้นปี 1-4 หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) จานวนทั้งสิ้น 600 คน โดยการเลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่างจานวนทั้งสิ้น 240คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการบริหารหลักสูตรฯ ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า 1) นิสิตพึงพอใจการวางแผนหลักสูตร (Plan) (\inline \bar{x} = 3.71, S.D. = 0.64) การนาผลประเมินมาปรับปรุงหลักสูตร (Act)(\inline \bar{x} = 3.65, S.D. = 0.68) การนาแผนหลักสูตรสู่การปฏิบัติ (Do) (\inline \bar{x} = 3.59, S.D. = 0.68) และการตรวจสอบและประเมินผลหลักสูตร(Check) (\inline \bar{x} = 3.58, S.D. = 0.70) ตามลาดับ 2) ด้านการวางแผนหลักสูตร (Plan) พบว่า อยู่ในระดับมากทุกงาน และงานปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (\inline \bar{x} = 3.86, S.D. = 0.64) และวิธีการสอนและการจัดการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยต่าสุด (\inline \bar{x} = 3.56, S.D.= 0.65) 3) ด้านการนาแผนหลักสูตรสู่การปฏิบัติ (Do) พบว่า อยู่ในระดับมากทุกงาน และงานปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (\inline \bar{x} = 3.64, S.D. = 0.71) และวิธีการสอนและการจัดการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยต่าสุด (\inline \bar{x} = 3.53, S.D. = 0.66) 4) ด้านการตรวจสอบและประเมินผลหลัก สูตร (Check) พบว่า อยู่ในระดับมากทุกงาน และงานปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยสูงสุด(\inline \bar{x} = 3.64, S.D. = 0.71) และงานอาจารย์มีค่าเฉลี่ยต่าสุด (\inline \bar{x} = 3.52, S.D. = 0.72) และ 5) ด้านการนาผลประเมินมาปรับปรุงหลักสูตร(Act) พบว่า อยู่ในระดับมากทุกงาน และงานปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (\inline \bar{x} = 3.79, S.D. = 0.68) และงานอาจารย์มีค่าเฉลี่ยต่าสุด (\inline \bar{x} = 3.59, S.D. = 0.69)

คำสำคัญ: SATISFACTION, MANAGEMENT, PDCA, PLANNING, DOING, CHECKING, ACTING

 

Abstract

The purpose of this research was to study the students’ satisfaction towards the management of the Bachelor of Business Administration (International Program), Faculty of Commerce and Accountancy, Chulalongkorn University. The population included 600 undergraduate students studying in the Bachelor of Business Administration International Program, . The samples were collected from a stratified random sampling of 240 people. The instrument used for collecting data was a rating scale questionnaire. The analytical statistics that were used to analyze quantitative data were frequency, mean and standard deviation.

The results found that students were satisfied with the overall program management at a high level. Furthermore, 1) students were satisfied with the program management cycle, which included planning (\inline \bar{x}), acting (\inline \bar{x}), doing (\inline \bar{x}) and checking (\inline \bar{x}) respectively. 2) Students were satisfied with the planning of program management at a high level. The teaching support had the highest average (\inline \bar{x} = 3.86, S.D. = 0.64), and teaching methods had the lowest average (\inline \bar{x} = 3.56, S.D. = 0.65). 3) Students were satisfied with the implementation of program management at a high level. Teaching support had the highest average (\inline \bar{x} = 3.64, S.D. = 0.71) and teaching methods had the lowest average (\inline \bar{x} = 3.53, S.D. = 0.66). 4) Students were satisfied with the monitoring and evaluation of program management at a high level. Teaching support had the highest average (\inline \bar{x} = 3.64, S.D. = 0.71) and the teachers themselves had the lowest average (\inline \bar{x} = 3.52, S.D. = 0.72). 5) Students were satisfied with the development of program management at a high level. Teaching supporting had the highest average (\inline \bar{x} = 3.79, S.D. = 0.68) and the teachers themselves had the lowest average (\inline \bar{x} = 3.59, S.D. = 0.69).

Keywords: SATISFACTION, MANAGEMENT, PDCA, PLANNING, DOING, CHECKING, ACTING

Downloads

How to Cite

ศรีภิรมย์ เ., & อุสาโห ช. (2014). การศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการบริหารหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. An Online Journal of Education, 9(3), 374–382. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/20566