กลยุทธ์การส่งเสริมสมรรถนะประจำสายงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จังหวัดสุพรรณบุรี
Keywords:
กลยุทธ์การส่งเสริมสมรรถนะประจำสายงานของครู, STRATEGIES TO ENHANCE, FUNCTIONAL COMPETENCY TEACHERSAbstract
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ลาดับ ความต้องการจำเป็นเร่งด่วน วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งโอกาส และภาวะคุกคาม ในการส่งเสริมสมรรถนะประจำสายงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จังหวัดสุพรรณบุรี แล้ววิเคราะห์ข้อมูลที่ได้เพื่อนามาพัฒนากลยุทธ์ในการส่งเสริมสมรรถนะประจำสายงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จังหวัดสุพรรณบุรี โดยใช้แบบสอบถามกับผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้างานฝ่ายวิชาการ จำนวน 42 คน โรงเรียน 14 โรงเรียน และจากการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNI Modified และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันภาพรวมและรายด้านการส่งเสริมสมรรถนะประจำสายงานของครู โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จังหวัดสุพรรณบุรี อยู่ในระดับมาก ขณะที่สภาพที่พึงประสงค์ภาพรวมอยู่ในระดับสูงมากในทุกด้าน และ พบว่าด้านที่เป็นจุดอ่อนหรือภาวะคุกคามคือ ด้านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ส่วนโอกาสคือการสร้างความสัมพันธ์และร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ สาหรับกลยุทธ์การส่งเสริมสมรรถนะประจำสายงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 จังหวัดสุพรรณบุรีมี 3 กลยุทธ์ ประกอบด้วย 1) กลยุทธ์หลัก 2) กลยุทธ์รอง 3) วิธีดำเนินการ
คำสำคัญ : กลยุทธ์การส่งเสริมสมรรถนะประจำสายงานของครู
Abstract
This study was conducted in descriptive research approach. It aims to study the authentic state, the desirable state, PNI Modified and SWOT Analysis. Beside, construct strategies for development of functional competency of secondary school teachers under the Secondary Education Service area Office 9, Suphanburi Province by used questionnaire with 14 school,42 school directors, deputy directors, and academic head-teachers. The data were analyzed by frequency, percentage, average, standard deviation, Priority Needs Index Modified, and content analysis.
The results showed that authentic state of overall and each aspect was at the high level while the desirable state of overall and each aspect was at the highest level. The most needed factor to be developed was Analysis & Synthesis & Classroom Research. In the other hand the opportunities was Relationship & Collaborative – Building for Learning Management. There were 3 strategies from Priority Needs Index Modified functional competency factors respectively to enhance functional competency of secondary school teachers under the Secondary Education Service area Office 9, Suphanburi Province; Corporate, Business, Functional .
KEYWORDS : STRATEGIES TO ENHANCE / FUNCTIONAL COMPETENCY TEACHERS