ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงร่วมกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในโรงเรียนขนาดเล็ก

Authors

  • นิดาวรรณ ทองไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล

Keywords:

แนวการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริง, ความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์, ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์, โรงเรียนขนาดเล็ก

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงร่วมกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์   2) เปรียบเทียบทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียนที่เรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงร่วมกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์กับผู้เรียนที่เรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 โรงเรียนขนาดเล็กแห่งหนึ่ง จำนวน 24 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที  (t-test) เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ก่อนเรียน-หลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้เรียนที่เรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงร่วมกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2) ผู้เรียนที่เรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงร่วมกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สูงกว่าผู้เรียนที่เรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05

References

เกศินี เพ็ชรรุ่ง. (2556). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงเพื่อส่งเสริมมโนทัศน์และความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49142

คันธรส วงศ์ศักดิ์. (2553). ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะประดิษฐ์ โดยใช้พืชผักผลไม้ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_Chi_Ed/Khantharot_V.pdf

จิรนันท์ พึ่งกลั่น. (2555). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานการเชื่อมโยง คณิตศาสตร์ในห้องเรียนกับชีวิตประจำวัน. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 27(3), 131-140.

นฤชล ศรีมาพรหม. (2549). การพัฒนาแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาสมการสำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนางรอง อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์). สืบค้นจาก http://newtdc.thailis.or.th/docview.aspx?tdcid
=22742

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2562, 22 มีนาคม). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561. สืบค้นจาก http://www.newonetresult. niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF/SummaryONETP6_2561.pdf

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: 3-คิว มีเดีย.

สุริเยส สุขแสวง. (2548). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการตั้งปัญหาที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จังหวัดสุรินทร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก https://cuir.car.chula.ac.th/xmlui/handle/ 123456789/8195

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2553). การวัดและประเมินเด็กแนวใหม่: เด็กปฐมวัย (ปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้าวิชาการ.

อัมพร ม้าคนอง. (2546). คณิตศาสตร์: การสอนและการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัมพร ม้าคนอง. (2553). ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์: การพัฒนาเพื่อพัฒนาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อารีย์ เมฆวิลัย. (2552). การศึกษาการใช้ตัวแทนความคิดทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และพฤติกรรมการเรียนคณิตศาสตร์แตกต่างกัน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/59242

อุดม เพชรสังหาร. (2549). ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์. นิตยสารรักลูก, 24(277), 164-165.

ภาษาอังกฤษ
Daniel, S. (2014). Difference of students mathematical connection ability using realistic mathematics education approach and problem posing approach in SMP SWASTA KATOLIK ASSISI MEDAN academic year 2014/2015 (Undergraduate thesis).
Retrieved from http://digilib.unimed.ac.id/11714/

Dickinson, P., Eade, F., Gough, S., & Hough, S. (2010). Using realistic mathematics education with low to middle attaining pupils in secondary schools. Proceedings of the British Congress for Mathematics Education, 30(1), 73-80. Retrieved from https://bsrlm.org.uk/wp-content/uploads/2016/02/BSRLM-IP-30-1-10.pdf

Dickinson, P., & Hough, S. (2012). Using realistic mathematics education (RME) in UK classrooms. Retrieved from https://mei.org.uk/files/pdf/RME_Impact_booklet.pdf

Fauzan, A. (2002). Apply realistic mathematics education (RME) in teaching geometry in Indonesian primary schools. Retrieved from https://ris.utwente.nl/ws/files /6073228/thesis_Fauzan.pdf

Gravemeijer, K. (1997). Solving word problems, a case of modeling? Learning and Instruction, 7(4), 389-397. Retrieved from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/ S095947529700011X

Zulkardi, Z. (2002). Developing a learning environment on realistic mathematics education for Indonesian student teachers (Doctoral Dissertation). Retrieved from https://research.utwente.nl/en/publications/developing-a-learning-environment-on-realistic-mathematics-educat

Downloads

Published

2019-12-27

How to Cite

ทองไทย น., & คล้ายมงคล ย. (2019). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับชีวิตจริงร่วมกับความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในโรงเรียนขนาดเล็ก. An Online Journal of Education, 14(2), OJED1402057 (12 pages). Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/222204