การศึกษานัยของกฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ข้อ34ต่อนโยบายการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคเดลฟาย A Study Using the Delphi Technique on the Implications of ASEAN Charter Article 34 on English Language Teaching Policies

Authors

  • วาเลริโอ ปิทโตเร Master’s degree student in Teaching English as a Foreign Language (International Program) Faculty of Education, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand
  • สุมาลี ชิโนกุล Division of Foreign Language Teaching, Department of Curriculum and Instruction Faculty of Education, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

Keywords:

กฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ข้อ34, นโยบายการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ, เทคนิคเดลฟาย, ASEAN CHARTER ARTICLE 34, ENGLISH LANGUAGE TEACHING POLICIES, DELPHI TECHNIQUE

Abstract

งานวิจัยนื้ใช้เทคนิคเดลฟายในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิใน2 ขั้นตอนวัตถุประสงค์ของงานวิจัยในขั้นตอนแรกเพื่อรวบรวมความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาอาเซียนศึกษาเกี่ยวกับนัยและแรงจูงใจในการกาหนดกฏบัติสมาคมแห่งประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ข้อ 34 ซึ่งระบุว่า “ภาษาที่ใช้ในการทางานของอาเซียนคือภาษาอังกฤษ“ หลังจากได้ข้อสรุปจากเดลฟายในขั้นตอนแรกแล้ว ผู้วิจัยนาเสนอข้อสรุปไปสร้างแบบสอบถามเพื่อขอความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิในขั้นตอนที่ 2 ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยมีวัตถุประสงค์ในการเสนอข้อแนะนาในเรื่องสมรรถนะทางภาษาและหลักสูตรที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในบริบทของประชาคมเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ดังนั้นงานวิจัยนี้ใช้แบบสอบถาม 2 ชุด ชุดแรกใช้เก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญในขั้นตอนแรก แล้วนามาใช้ข้อมูลนั้นเพื่อสร้างแบบสอบถามที่สอง สาหรับเก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญกลุ่มที่ 2ข้อมูลที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญในขั้นตอนที่ 2 ได้รับการวิเคราะห์ ทั้งในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพข้อสรุปได้จากการรวบรวมความคิดเห็นของทรงคุณวุฒิจากคาตอบ ข้อสังเกต จากคาถามปลายเปิดเทคนิค“เดลฟาย”สะท้อนการรวบรวมหาข้อสรุปที่เป็นเอกฉันท์จากประเด็นที่อาจมีความหลากหลายเนื่องจากผู้ทรงคุณวุฒิมีอิสระในการให้ความเห็น

 

This study utilized a two-phase-Delphi technique using two different sets of panelists. The objective of the study was to gather valid opinions from experts in the field of ASEAN studies on the implications and motivations behind ASEAN Charter Article 34 which states “the working language of ASEAN shall be English.” After the first Delphi phase, the researcher summarized the feedback obtained by first panel, in order to formulate an appropriate questionnaire for a second panel of experts in the area of English Language Teaching, with the goal of formulating a series of recommendations regarding what sort of competencies and English language curriculum should to be taught in the ASEAN community context.. Two different questionnaires were used in this study: one formulated exclusively for the first panel of experts and a second one constructed on the basis of the results collected from Phase One results and subsequently submitted to the Phase Two panel of experts. The responses of the Second Panel Delphi were analyzed both on a quantitative and qualitative base. The conclusion was drawn from the responses, the observations and the open-ended remarks. Delphi techniques reflect the data collection which seek consensus opinion which may be vary as the experts gave their responses anonymously.

Downloads

How to Cite

ปิทโตเร ว., & ชิโนกุล ส. (2014). การศึกษานัยของกฎบัตรสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ข้อ34ต่อนโยบายการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคเดลฟาย A Study Using the Delphi Technique on the Implications of ASEAN Charter Article 34 on English Language Teaching Policies. An Online Journal of Education, 9(1), 105–117. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/28609