การประเมินความต้องการจาเป็นเพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย A NEEDS ASSESSMENT TO DEVELOP INSTRUCTIONAL ABILITY OF TEACHER STUDENTS MAJOR EARLY CHILDHOOD EDUCATION
Keywords:
การประเมินความต้องการจาเป็น, ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน, นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู, การศึกษาปฐมวัย, NEEDS ASSESSMENT, INSTRUCTIONAL ABILITY, STUDENT TEACHERS, EARLY CHILDHOOD EDUCATIONAbstract
รจัดการเรียนการสอนของนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จานวน 128 คน ที่สาเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2547 ถึงปีการศึกษา 2551 วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และใช้เทคนิค Modified Priority Needs Index (PNI modified) ในการจัดลาดับความสาคัญของความต้องการจาเป็น
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย มีความต้องการจาเป็นเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการจัดการเรียนการสอน 4 ด้าน คือ (1) ด้านการวางแผน (2)ด้านการจัดกิจกรรม (3)ด้านการจัดสภาพแวดล้อม (4)ด้านสื่อ และแหล่งเรียนรู้ 2) นิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วิชาเอกการศึกษาปฐมวัย มีความต้องการจาเป็นเพื่อพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนการสอนในทุกด้าน โดยด้านที่มีความต้องการจาเป็นลาดับที่ 1 คือ ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ โดยเฉพาะในเรื่องของการดูแลรักษา ลาดับที่ 2 คือ ด้านการจัดกิจกรรม โดยเฉพาะในเรื่องของการจัดการชั้นเรียน และการประเมิน ด้านการวางแผน โดยเฉพาะในเรื่องของการวิเคราะห์หลักสูตรและกาหนดเนื้อหา ลาดับที่ 3 คือ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะในเรื่องของสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
The purpose of this research is to study and prioritize the order of needs assessment to develop the instructional ability of student teachers majoring in early childhood education. The participants were 128 student teachers, graduating from the academic year 2004 to 2008, from the Faculty of Education majoring in Early Childhood Education at Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand. The research instrument was a questionnaire. Data were statistically analyzed through the arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The Modified Priority Needs Index formula (PNI Modified) was used to prioritize the order of needs assessment.
The results were as follows: 1. Student teachers in early childhood education were required to develop instructional ability in four instructional areas:1) instructional planning, 2) activity organization, 3) environmental management, and 4) learning materials and resources. 2. Student teachers in early childhood education were required to develop instructional ability in all instructional areas. The first and foremost critical needs of the instructional areas were learning materials and resources, especially materials maintenance. The second critical needs were instructional planning, especially classroom management as well as evaluation and activity organization, especially the curriculum and content analysis. The third critical needs were environmental management, especially in the area of physical environment.