การศึกษาการดาเนินการนิเทศการสอนและการพัฒนาตนเองของครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดกาปงธม ราชอาณาจักรกัมพูชา

Authors

  • ฤทธี ตัน นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • จุไรรัตน์ สุดรุ่ง อาจารย์ประจาสาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

การนิเทศการสอน, การพัฒนาตนเองของครู, INSTRUCTIONAL SUPERVISION, SELF-DEVELOPMENT OF TEACHERS

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดาเนินงานนิเทศการสอนและการพัฒนาตนเองของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในจังหวัดกาปงธม ราชอาณาจักรกัมพูชา ประชากร คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่อยู่ในจังหวัดกาปงธม จานวน 20 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างการนิเทศการสอน จานวน 240 คน ด้านการพัฒนาตนเองของครู จานวน 20 คน โดย การสุ่มแบบเจาะจง โดยโรงเรียนจะเป็นผู้คัดเลือกรายชื่อให้ เครื่องมือเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง

ผลการวิจัยการดาเนินการนิเทศการสอนพบว่า ด้านการเตรียมการก่อนการสังเกตการสอน โรงเรียนมีการแต่งตั้งให้หัวหน้าหมวดวิชาเป็นผู้สังเกตการสอน มีการแจ้งวันเวลาก่อนการสังเกตการสอนและมีการสังเกตการสอนเดือนละครั้ง ให้ครูส่งแผนการสอนก่อนเปิดภาคเรียน และใช้เครื่องมือสังเกตการสอนที่กระทรวงกาหนดให้ ด้านการสังเกตการสอน พบว่า มีการสังเกตสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน สังเกตการดาเนินการสอนทั้ง 5 ขั้น เครื่องมือเป็นแบบบันทึกการสังเกตการสอน ด้านหลังการสังเกตการสอน มีการวิเคราะห์ผลจากการสังเกตการสอน โดยให้ครูมีส่วนร่วมแล้วให้ข้อมูลย้อนกลับ ให้คาแนะนาวิธีการควบคุมชั้นเรียน การแสวงหายุทธวิธีต่าง ๆ เพื่อนามาปรับปรุงและพัฒนาการสอนด้วยตนเอง มีการติดตามพัฒนาการการสอนของครูด้วยการสังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนในครั้งต่อไป การพัฒนาตนเองของครู พบว่า ด้านการเตรียมการสอน ครูมีการศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตาราเรียน หนังสือตารา ต่างประเทศ อินเตอร์เน็ต เพื่อให้มีเนื้อหาและวิธีคิดที่หลากหลาย นามาวิเคราะห์และเลือกเนื้อหาที่สาคัญ ๆ นาไปเขียนแผนการสอน ด้านการจัดการเรียนการสอน พบว่า ครูมีการจัดกิจกรรมการสอนตามลาดับ 5 ขั้นตอน มีการใช้เทคนิควิธีสอนที่หลากลาย สอนให้นักเรียนรู้จักคิดวิเคราะห์และส่งเสริมให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่ม ครูมีสอนพิเศษนอกเวลาราชการเพื่อหารายได้เพิ่มและให้นักเรียนได้มีโอกาสเรียนเสริมเพิ่มจากการเรียนในเวลาปกติ ด้านการประเมินตนเองของครู พบว่า ครูมี การวิเคราะห์พฤติกรรมการสอนหาจุดบกพร่องของตนเอง โดยสังเกตความตั้งใจเรียนของนักเรียนแล้วย้อนกลับไปคิดกระบวนการดาเนินการเรียนการสอนของตนเองใหม่ เพื่อนามาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในครั้งต่อไป

 

The objectives of this research were to study the operation of instructional supervision and self-development of high school teachers in Kampong Thom Province, the Kingdom of Cambodia. The population of the study consisted of teachers from 20 high schools located in Kampong Thom Province. The sample of 240 teachers were used to view the operation of instructional supervision through questionnaires while 20 other teachers were selected to provide information on the self-development by each school through semi-structure interview.

The results of the operation of instructional supervision have revealed that: Pre-observation: The schools have assigned the head of each subject to be instructional supervision, they have announced that there will be the classroom observation once a month, and all of the teachers had to submit the lesson plans before starting semester. The tools of the Ministry of Education for youth and sports have been used by the supervisor. Classroom observation: There were 5 steps of the instructional process which were needed to be observed including the classroom environment by using recording observation form. Post-observation: After finishing the first two steps, the supervisor gave an analysis of the observation. Then the supervisor and teacher had a meeting to discuss the feedback from the observation, comment on how to control the classroom, search for more instructional methods to improve teaching by themselves, and followed up with teachers’ improvement for the next observation. Part of self-development teachers revealed that for Preparing instruction: Teachers had to search text books, teacher manuals, documents, foreign-texts, and the internet in order to identify the varieties of content and differential conceptions. Afterwards, they had to analyze and chose the main content to add in lesson plans. Instruction: Outstanding teachers have taught lessons by following 5 steps of lesson plan processing, using technical skills, giving students the task of analysis processing, and encouraging students to work in a group. Furthermore, the teachers had taught in private classes in order to give more benefits to the students. Moreover, they used their free time for tutorials to study after class. Self-assessment: The teachers have made the analysis of their instructional performance to identifuy problems in order to improve their teaching in later sessions.

Downloads

How to Cite

ตัน ฤ., & สุดรุ่ง จ. (2014). การศึกษาการดาเนินการนิเทศการสอนและการพัฒนาตนเองของครู ในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดกาปงธม ราชอาณาจักรกัมพูชา. An Online Journal of Education, 9(1), 173–186. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/28617