ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษ และความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ : กรณีศึกษา นักเรียน แผน อังกฤษ-คณิต โรงเรียนวัดสุทธิวราราม
Keywords:
แรงจูงใจในการอ่าน, ความเข้าใจในการอ่าน, READING MOTIVATION, READING COMPREHENSIONAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนแผน อังกฤษ-คณิต (2) ศึกษาความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนแผน อังกฤษ- คณิต (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนที่มีต่อความเข้าใจในการอ่าน กรณีศึกษานักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี 5 โรงเรียน วัดสุทธิวราราม แบบสอบถามมี 2 ชุด แบบสอบถาม ชุดที่ 1 มี 57 ข้อ เป็นคาถามในเรื่องแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษ แบบสอบถาม ชุดที่ 2 มี 20 ข้อ เป็นคาถามในเรื่องการความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ และแบบสัมภาษณ์มี 10 คาถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงบรรยายข้อมูล ผลการ วิจัยพบว่า นักเรียนแผนอังกฤษ- คณิต ที่เป็นกรณีศึกษา มีแรงจูงใจในการอ่านภาษาอังกฤษน้อยซึ่งอ่านแล้วไม่เข้าใจ ดังนั้น นักเรียนจะอ่านภาษาอังกฤษเฉพาะสิ่งที่เขาสนใจแต่จะไม่อ่านเพื่อปรับผลการเรียน จากผลของข้อมูลสะท้อนให้เห็นว่า แรงจูงใจมีผลกระทบต่อการอ่านภาษาอังกฤษ
The purposes of the study is to: (a) to assess the motivation of students in an English - Math program; (b) study the reading comprehension of students in that English-Math program; (c) study the relationship between English reading motivation and reading comprehension. I used case study of Grade 11 students at Watsuttiwararam School for this study. The study used two sets of the questionnaires. The first set contained 57 questions on English reading motivation. The second set contained 20 questions on English reading comprehension and 10 interview questions. Descriptive statistics were used to analyze the data from the questionnaire. The case study showed that students in the English – Math program who have low reading motivation tend to have difficulty comprehending English. Poorly motivated students have no interest in reading to improve their grades. The data shows that if a student is not motivated to read English, that student is less likely to read the English academic material necessary to succeed in school or the modern economy.