ผลของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบจาลอง MORE ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
Keywords:
การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบจาลอง MORE, แบบจาลอง, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์, คาอธิบายทางวิทยาศาสตร์, ความสามารถในการสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์, SCIENCE INSTRUCTION USING MORE MODEL, MODEL, SCIENCE LEARNING ACHIEVEMENT, SCIENTIFIC EXAbstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบจาลอง MORE (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบจาลอง MORE กับนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบทั่วไป (3) ศึกษาความสามารถในการสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบจาลอง MORE (4) เปรียบเทียบความสามารถในการสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้แบบจาลอง MORE กับนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแบบทั่วไป กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคม จังหวัดนครศรีธรรมราช จานวน 2 ห้องเรียน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 37 คน และกลุ่มควบคุม 38 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และแบบวัดความสามารถใน การสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์ ตามลาดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ ที่กาหนดไว้ คือ ร้อยละ 70 (2) นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละความสามารถในการสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ ร้อยละ 70 (4) นักเรียนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละความสามารถในการสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
The purpose of study were (1) to study science learning achievement of the experimental group which learning science instruction through MORE model (2) to compare science learning achievement of students between the experimental group and the control group which learned science through conventional teaching method (3) to study the ability of making explanation of the experimental group (4) to compare scientific explanation ability of Mathayom Suks 1 students at the Thungyaiwittayakom secondary school in Nakhon Si Tammarat. The samples were devided into two groups of 37 and 38 students for experimental and control groups respectively. The research instruments were (1) a science learning achievement and (2) the scientific explanation ability test. The collects data were analyzed by arithmetic mean, means of percentage, standard deviation and t-test
The research findings were summarized as follow: (1) After the experiment, the average score of science learning achievement of the experimental group was higher than the criterion score set at 70 percent. (2) After the experiment, the percentage average scores of science learning achievement of the experimental group was higher than the control group at .05 level of significance. (3) After the experiment, the average scores of ability of making explanation of experimental group was higher the criterion score set at 70 percent. (4) After the experiment, the percentage average score of ability of making explanation of the experimental group was higher than the control group at .05 level of significance.