ผลของการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านอาเซียนที่มีต่อความฉลาดทางอารมณ์ของ นักเรียนประถมศึกษา
Keywords:
ความฉลาดทางอารมณ์, เกมการละเล่นพื้นบ้านอาเซียน, การจัดกิจกรรมพลศึกษา, EMOTIONAL INTELLIGENCE, ASEAN FOLK GAMES, PHYSICAL EDUCATIONAbstract
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านอาเซียนที่มีต่อความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนประถมศึกษา ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านอาเซียน กับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชายและหญิงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 40 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้มาจาก วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง โดยกลุ่มทดลองจานวน 20 คน และกลุ่มควบคุมจานวน 20 คน ดาเนินการทดลองเป็นระยะเวลาทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 วัน
วันละ 60 นาที และทาการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนความฉลาดทางอารมณ์ โดยทดสอบค่าที (ttest)ก่อนเริ่มทาการทดลอง กลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านอาเซียน และกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามปกติ โดยทาการทดสอบความฉลาดทางอารมณ์ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ โดยทดสอบความมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านอาเซียนที่มีต่อความฉลาดทางอารมณ์ กับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้วิชาพลศึกษาตามปกติ มีค่าคะแนนความฉลาดทางอารมณ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยแสดงว่ากิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านอาเซียนสามารถพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนประถมศึกษาได้
The purpose of this research was to study the effects of physical education activity management using asean folk games on emotional intelligence of elementary school students,between the experimental group which received physical education activity management using asean folk games and
control group which received regular physical education learning management.40 subjects from 4 grad, male and female students were purposively selected. There were 20 students in the experimental group and 20 student in the control group. The total during of activity management was 8 weeks, 2 day a week and 60 minutes. Compare the difference of the average t-test scores of the emotional intelligence between the experimental group of physical education activity management using asean folk games and the control group which received regular physical education learning management. The emotional intelligence test before and after 8 week trial to test the importance statistically significantdifference at .05 level.The results were as follows :, the experimental group which received physical education activitymanagement using asean folk games and control group which received regular physical education
learning management. The emotional intelligence were statistically significant difference at .05 level.