การพัฒนาหลักสูตรว่ายน้้าเพื่อเอาชีวิตรอดส้าหรับการป้องกันตนเองจากการจมน้้าของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น

Authors

  • ก้องสยาม ลับไพรี สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ดร.ธานินทร์ บุญญาลงกรณ์ สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

หลักสูตรว่ายน้าเพื่อเอาชีวิตรอด, การป้องกันตนเองจากการจมน้า, นักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น, SURVIVAL SWIMMING CURRICULUM, SELF DROWNING PREVENTION, ELEMENTARY SCHOOL STUDENTS

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เพื่อพัฒนาหลักสูตรว่ายน้้าเพื่อเอาชีวิตรอดส้าหรับการป้องกันตนเองจากการจมน้้าของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น โรงเรียนไทยนิยมสงเคราะห์ จ้านวน 10 คน ได้รับการจัดกิจกรรมพลศึกษาตามหลักสูตรว่ายน้้าเพื่อเอาชีวิตรอด เป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 วัน วันละ 1 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนการเรียนรู้วิชาพลศึกษาตามหลักสูตรว่ายน้้าเพื่อเอาชีวิตรอด จ้านวน 15 แผน แบบทดสอบความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้้า แบบสังเกตคุณลักษณะประจ้าตัว และแบบประเมินผลการเรียนหลักสูตรว่ายน้้าเพื่อเอาชีวิตรอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าทีที่ระดับนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิจัยพบว่า การป้องกันตนเองจากการจมน้้าของกลุ่มตัวอย่างหลังได้รับการจัดกิจกรรมพลศึกษาตามหลักสูตรว่ายน้้าเพื่อเอาชีวิตรอดมีค่าคะแนนการป้องกันตนเองจากการจมน้้าสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้้า

The purpose of this study was to improve the survival swimming curriculum for self drowing prevention of elementary school students. The sample group consisted of 10 students from Thainiyomsongkroa School. The students in the sample group were assigned to study under the survival swimming curriculum for eight week, two days per week, one hour per day. The research instruments were composed of 15 lesson plans of the survival swimming curriculum, the test of Water Safety Knowledge, the personality observation test, and the learning evaluation form of the survival swimming curriculum. Then data were analyzed by using mean, standard deviations, and a t-test of .05 significance.
The research finding was the scores of self-defense from drowning in the after experimental group was higher than the before experimental group of a difference of .05 significance; excepted the knowledge of life saving in the water.

Downloads

How to Cite

ลับไพรี ก., & บุญญาลงกรณ์ ด. (2015). การพัฒนาหลักสูตรว่ายน้้าเพื่อเอาชีวิตรอดส้าหรับการป้องกันตนเองจากการจมน้้าของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น. An Online Journal of Education, 10(2), 350–361. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/35317