ผลของโปรแกรมการฝึกแบบสถานีที่มีต่อความสามารถในการเลี้ยงลูกฟุตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Authors

  • ธรรมชาติ นาคะพันธ์ สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผศ.ดร.สุธนะ ติงศภัทิย์ อาจารย์ประจาสาขาวิชาสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชา.หลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

โปรแกรมการฝึกแบบสถานี, การเลี้ยงลูกฟุตบอล, CIRCUIT TRAINING PROGRAM, SOCCER DRIBBLING

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการฝึกแบบสถานีที่มีต่อความสามารถในการเลี้ยงลูกฟุตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพศชาย จานวน 20 คน โดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง กาหนดให้กลุ่มทดลองที่ได้เลือกฝึกด้วยโปรแกรมการฝึกแบบสถานี ในช่วงแรกของการฝึกซ้อมปกติในแต่ละวัน โดยทาการฝึก 8 สัปดาห์ๆละ 2 วัน คือ วันอังคารและวันพฤหัสบดี และทดสอบความสามารถในการเลี้ยงลูกฟุตบอล ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ นาผลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่า “ที” ทดสอบความมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการทดลอง 8 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมีความสามารถในการเลี้ยงลูกฟุตบอลเป็นเส้นตรงระยะทาง 50 เมตร ดีกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) หลังการทดลอง 8 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมีความสามารถในการเลี้ยงลูกฟุตบอลซิก-แซ็ก ดีกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05

The purpose of this research is to study the effects of circuit training program upon soccer dribbling ability of upper secondary school students. The subjects of this research were 20 male upper secondary school soccer players selected by purposive sampling method. The circuit training program was practiced by the subjects twice a week on Tuesdays and Thursdays in addition to the normal practice. After 8 weeks, the pre-test and post-test data of dribbling ability of the subjects were compared and statistically analyzed in terms of means, standard deviations and t-test. The research results were; 1) After 8 weeks, soccer dribbling ability in a straight line over a distance of 50 meters of the subjects was significantly better than before experiment at the .05 level. 2) After 8 weeks, the zigzag soccer dribbling ability of the subjects was significantly better than before the experiment at the .05 level.

Downloads

How to Cite

นาคะพันธ์ ธ., & ติงศภัทิย์ ผ. (2015). ผลของโปรแกรมการฝึกแบบสถานีที่มีต่อความสามารถในการเลี้ยงลูกฟุตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. An Online Journal of Education, 10(2), 369–381. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/35319