การนาเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนพลศึกษา ของครูประถมศึกษาที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษา

Authors

  • นงค์ณภัส ปาแก้ว สาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รศ.ดร.รัชนี ขวัญบุญจัน อาจารย์ประจาสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

สมรรถนะในการจัดการเรียนการสอน, ครูพลศึกษา, ครูพลศึกษาที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษา, INSTRUCTIONAL MANAGEMENT COMPETENCY, PHYSICAL EDUCATION TEACHERS, TEACHERS WITH NO CERTIFICATION IN PHYSICAL EDUCATION

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ศึกษาสภาพ สมรรถนะ และความต้องการการพัฒนาสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนของครูพลศึกษาระดับประถมศึกษาที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษา 2)เปรียบเทียบสมรรถนะของครูพลศึกษาในระดับประถมศึกษาที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษาเมื่อจาแนกตามเพศและประสบการณ์การทางาน และ 3)นาเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของครูพลศึกษาในระดับประถมศึกษาที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูผู้สอนพลศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษา จานวน 372 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์สถิติพื้นฐาน สถิติทดสอบที (t-test) และสถิติทดสอบเอฟ (F-test) ผลการวิจัยสรุปว่า 1) สภาพการสอนพลศึกษา ครูพลศึกษาที่เป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ อายุ 55 ปีขึ้นไป จบปริญญาตรี เอกประถมศึกษา มีประสบการณ์สอนวิชาพลศึกษา 21 ปีขึ้นไป มีชั่วโมงสอนมากกว่า 20 คาบต่อสัปดาห์ ได้รับมอบหมายให้สอนพลศึกษา เนื่องจากมีความสามารถทางการกีฬา เคยเข้าร่วมอบรมทางพลศึกษาเรื่องการตัดสินกีฬาและการเป็นผู้ฝึกสอนกีฬา มีการจัดการเรียนการสอน เป็นไปตามขั้นตอนของการสอนพลศึกษา สมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนพลศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านวัตถุประสงค์ ด้านหลักสูตรและเนื้อหา ด้านการสอนพลศึกษา ด้านสื่อและอุปกรณ์ ด้านการวัดและประเมินผล และด้านอื่น ๆ ได้แก่ ความรู้ทักษะ การปฏิบัติงาน และด้านการปฏิบัติตน ครูส่วนใหญ่ต้องการเข้ารับการอบรมในการพัฒนาเรื่องหลักสูตรและเนื้อหา การสอนพลศึกษา ด้านการวัดและประเมินผลทางพลศึกษา และต้องการงบประมาณในการซื้อสื่อและอุปกรณ์ 2)เปรียบเทียบสมรรถนะเมื่อจาแนกตามเพศและประสบการณ์การทางาน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 3) แนวทางการพัฒนาการอบรมในการพัฒนาเรื่องหลักสูตรและเนื้อหา การสอนพลศึกษา ด้านการวัดและประเมินผลทางพลศึกษา

The purposes of this study were to 1) Investigate, performance and development needs instruction of physical education teachers at the primary level, no education in physical education. 2) To compare physical education instructional management competency of primary school teacher with no certification in physical between sex and experience 3) and propose guidelines for the development of the performance of physical education teachers in the primary school with no certification in physical education. The sample is the physical education teachers in Primary Schools under the office of the National Primary Education Commission. The 372 data were collected by using questionnaires. The data were analyzed using descriptive statistics, t-test and F-test research findings conclude that 1) State of Physical Education Teaching Physical education teachers were mostly age 55 years or above. Have a bachelor's degree in elementary education with physical education 21 years, teaching more than 20 periods per week. Assigned to teach physical education. Due to the ability of sports. There are teaching according to the process of Physical Education Teaching The performance management of physical education by statistical significance difference on .05, including the objective, curriculum and content in teaching physical education. In media and equipment .And on the other side, including knowledge, skills, performance, and most of teachers need training in the development of curriculum and contents in teaching physical education measurement and evaluation in physical education. 2) Compared the performance by sex and work experience. There are significantly difference on .05 3) guidelines for training in the development of the course and content of physical education teaching in measurement and evaluation in physical education.

Downloads

How to Cite

ปาแก้ว น., & ขวัญบุญจัน ร. (2015). การนาเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอนพลศึกษา ของครูประถมศึกษาที่ไม่มีวุฒิทางพลศึกษา. An Online Journal of Education, 10(2), 397–406. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/35321