แนวทางการสร้างอัตลักษณ์ของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง : โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

Authors

  • ษุรพีฐ์ บุญคง สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อ.ดร.อุบลวรรณ หงษ์วิทยากร อาจารย์ประจาสาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชานโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นาทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

อัตลักษณ์โรงเรียนวิทยาศาสตร์, โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค, โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย, IDENTITY SCIENCE SCHOOL, REGIONAL SCIENCE SCHOOL, PRINCESS CHULABHORN’S COLLEGES

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาสภาพและปัญหาในการสร้างอัตลักษณ์ของโรงเรียนวิทยาศาสตร์และเสนอแนวทางการมีส่วนร่วมในการสร้างอัตลักษณ์ของโรงเรียนวิทยาศาสตร์ โดยใช้เทคนิควิธีการวิจัยเชิงผสม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม และการลงพื้นที่ภาคสนาม
ผลการวิจัย พบว่า อัตลักษณ์โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาคให้ความสาคัญกับนักเรียนต้องมีคุณธรรมนาวิชาการดังคาขวัญที่ว่ารักษ์ศักดิ์ศรีมีคุณธรรม นาวิชาการและสืบสานงานพระราชดาริของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นส่งเสริมคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฏรในถิ่นที่อยู่ห่างไกลและส่งเสริมการศึกษาของเยาวชน ตามแบบเดิมของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยที่เป็นมา ดังนั้นนักเรียนโรงเรียนวิทยาศาสตร์จะต้องเป็นคนเก่งและดีที่นาองค์ความรู้กลับมาพัฒนาภูมิภาค และโรงเรียนวิทยาศาสตร์จะเป็นต้นแบบแก่ภูมิภาคได้ต้องมีผู้บริหารที่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของการเป็นผู้บริหารโรงเรียนวิทยาศาสตร์ตามอุดมการณ์ของการจัดตั้งโรงเรียน และครูที่มีความรู้ความสามารถทางวิชาการและมุ่งมั่นเสียสละทางานเพื่อส่วนรวม อันจะเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนดังปณิธานว่ามีคุณธรรมนาวิชาการ และต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตลอดจนกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ร่วมกันแก้ปัญหาเรื่องคุณภาพและการคัดสรรทั้งครูและผู้บริหาร ให้ได้ครูและผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์และเข้าใจบทบาทหน้าที่เพื่อสร้างอัตลักษณให้เกิดกับนักเรียนตามอุดมการณ์และเป้าหมายของโรงเรียนต่อไป

The research aimed at studying the states and problems in the identity formation for science schools and proposing stakeholder participation guidelines in the identity formation for science schools. Mixed-method techniques were employed in this research. The research instruments comprised of questionnaire and field note. The collected data were analyzed and constructed as guidelines in the identity formation for science schools and proposed the guidelines to specialists in Focus Group Discussion process.
The research results revealed that the identities of regional science schools were represented as follows: students must adhere to morality before academic as shown in school motto “hold integrity, adhered to morality, led to academic and inherited the royal initiatives” which was inherited to the past tradition of Princess Chulabhorn’s college. In addition, the identities of science schools will be brought about by the administrators who understood the roles of the administrators of science schools which were based on the ideologies of establishing the schools and the teachers who had academic capability and devoted themselves to the school benefits. These identities will be a good model for students as represented in motto “morality before academic” and must rely on stakeholder participation for solving the identity formation.

Downloads

How to Cite

บุญคง ษ., & หงษ์วิทยากร อ. (2015). แนวทางการสร้างอัตลักษณ์ของโรงเรียนวิทยาศาสตร์จากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง : โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย. An Online Journal of Education, 10(2), 534–545. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/35333