ผลของการจัดประสบการณ์โดยใช้สถานการณ์จาลอง ที่มีต่อความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนของเด็กอนุบาล

Authors

  • ธนัตถ์ศรณ์ รัตนมีแสงนิล
  • อุดมลักษณ์ กุลพิจิตร

Keywords:

สถานการณ์จาลอง, ความปลอดภัยในห้องเรียน, เด็กอนุบาล, SIMULATION, CLASSROOM SAFETY, KINDERGARTENERS

Abstract

   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดประสบการณ์โดยใช้สถานการณ์จาลองที่มีต่อความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนของเด็กอนุบาล ในด้านการปกป้องตนเองและด้านการควบคุมตนเอง กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็กชั้นอนุบาลปีที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนวัดอุดมรังสี สังกัดกรุงเทพมหานคร จานวน 25 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ระยะเวลาที่ใช้ในการดาเนินการวิจัย 6 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนของเด็กอนุบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการทดลอง กลุ่มเป้าหมายมีค่าเฉลี่ยคะแนนความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) หลังการทดลอง กลุ่มเป้าหมายมีค่าเฉลี่ยคะแนนความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนด้านการปกป้องตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) หลังการทดลอง กลุ่มเป้าหมายมีค่าเฉลี่ยคะแนนความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนด้านการควบคุมตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

   The purpose of this research was to study the effect of experience management using simulations on classroom safety understanding of kindergarteners, in terms of self-defense and self-control. The target group was 25 year one kindergarteners form Wat Udom Rangsee School in 2014 by purposive sampling. Research duration was 6 weeks. The research was a test on understanding of kindergarten classroom safety. The data was statistically analyzed by using arithmetic means, standard deviation and t-test.

The research results were as follows: 1) After the experiment, the mean scores on the classroom safety understanding of the target group were higher than before at the .01 significant level. 2) After the experiment, the mean scores on the classroom safety understanding of the group in term of
self-defense were higher than before at the .01 significant level. 3) After the experiment, the mean scores on the classroom safety understanding of the group in term of self-control were higher than before at the .01 significant level.

Downloads

How to Cite

รัตนมีแสงนิล ธ., & กุลพิจิตร อ. (2015). ผลของการจัดประสบการณ์โดยใช้สถานการณ์จาลอง ที่มีต่อความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในห้องเรียนของเด็กอนุบาล. An Online Journal of Education, 10(1), 1–14. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/40472