สังคมผู้สูงอายุ : โอกาสและความท้าทายทางธุรกิจ
Abstract
องค์การสหประชาชาติ ได้ระบุไว้ว่าประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปในสัดส่วนเกิน
ร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะ
เปลี่ยนเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) เมื่อสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มขึ้น
เป็นร้อยละ 20 สำหรับประเทศไทยนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 โดยมีประชากรอายุ
60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 10.5 และจากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573 คาดว่า
จำนวนผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 15.7 ในปี พ.ศ. 2573 หรือ ในอีก12 ปีข้างหน้า โดยที่ประเทศ
ไทยมีแนวโน้มที่จะเป็นสังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2564 เมื่อมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็น 13.1
ล้านคน หรือร้อยละ 20 ของประชาการทั้งหมด (นีลเส็น ประเทศไทย, 2559)
References
สังคมสูงวัย. สืบค้นเมื่อ 23 พฤษภาคม 2561, เว็บไซต์: www.nielsen.com
ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ และ ปราโมทย์ ประสาทกุล. (2549). ประชากรไทยในอนาคต. สืบค้นเมื่อ 24
เมษายน 2561, เว็บไซต์: www.ipsr.mahidol.ac.th
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2559). รายงานสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557.
กรุงเทพมหานคร: บริษัท เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด.
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2558). Aging Society ก้าวสู่สังคมสูงวัย ไอเดียดี โอกาสมา.
สืบค้นเมื่อ 20 เมษายน 2561, เว็บไซต์: http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/agingsociety/
260
Positioningmag. (2556). ผู้สูงวัย เทรนด์ลูกค้ามาแรง แต่ทำไมนักการตลาดยังมองข้าม. สืบค้นเมื่อ 10
พฤษภาคม 2561, เว็บไซต์: www.positioningmag.com
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารธุรกิจปริทัศน์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว