การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สาระเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง อาเซียนศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้จึงมีความมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2) เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือตามหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ 80/80 3) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของ แผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้น และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ การเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้น ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ใช้ ในการสำรวจข้อมูลพื้นฐานสำหรับใช้ในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนดอนจานวิทยาคม รวมทั้งหมด 336 คน กลุ่มที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองใช้หลักสูตร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนดอนจานวิทยาคม อำเภอดอนจาน จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 40 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสอบถามความต้องการพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (2) หลักสูตร สถานศึกษา สาระเพิ่มเติม เรื่องอาเซียนศึกษา ฉบับร่าง (3) แผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา จำนวน 9 แผน ที่มีค่าเฉลี่ยรวม 4.37 (4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 50 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.21 – 0.86 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 และ (5) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัด การเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.33 – 0.73 และค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้
1. หลักสูตรสถานศึกษา สาระเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง อาเซียนศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้รูปแบบการประเมินหลักสูตรแบบซิปโมเดล (CIPP Model) พบว่า ผลการประเมินหลักสูตร ทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยคะแนนรวมทุกด้าน 4.37 ในระดับมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.59 หมายความว่า หลักสูตรสถานศึกษาที่พัฒนาขึ้นมีคุณค่า และมีความเหมาะสมกับสถานศึกษาและ ความต้องการของผู้เรียน
2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือตามหลักสูตรสถานศึกษา สาระเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง อาเซียนศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.74 / 81.55 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80
3. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือตามหลักสูตรสถานศึกษา สาระเพิ่มเติมกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง อาเซียนศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายดัชนีประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.6486 แสดงว่า นักเรียนมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 64.86
4. การวิเคราะห์ ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยหลักสูตรสถานศึกษา สาระเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง อาเซียนศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่พัฒนาขึ้น มีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.49 ทาให้ผู้เรียนมีความสุข มีทักษะชีวิตยอมรับและ เห็นคุณค่าการอยู่ร่วมกันในสังคมอาเซียนได้อย่างมีความสุข สามารถนำไปขยายผลกับผู้อื่นได้
The Development of School Based Curriculum Titled “ASEAN Study for upper Level Student” for Social Studies, Religion and Culture Department
This study was to 1) develop School Based curriculum 2) to develop the activity based learning curriculum that is efficiency. 80/80 3) to study the effectiveness index of lesson plan based on school-based curriculum development and 4) to study the satisfaction of students toward learning according to the school-based curriculum development. The sample in this group study was divided into 2 groups. Group one used to survey basic data for using in curriculum development, comprises of school administrators, committee teachers, students at the upper secondary school (Don Chan school), a total is 336 people. Group 2 was used as a sample in experiment course, including the grade of student from 5/2 studied in the first semester in 2013, Totally 40 people, derived by Purposive Sampling. The instruments were (1) questionnaire for needs based on the development of school curriculum (2) school curriculum on Asian studies (a draft one) (3) 9 learning plans based on the framework of school curriculum plan with an average total of 4.37 (4) 50 items of achievement test with discrimination 0.21-0.86, reliability of the questionnaire was 0.96 and (5) queries the satisfaction of students on learning based curriculum of discrimination 0.21-0.86, reliability was 0.94. The statistical analysis data is percentage, mean and standard deviation.
The results of the study were as follows :
1. Curriculum of social studies, religion and culture of Asian studies used the evaluation model of the CIPP Model, it was found that the curriculum is consistent with the needs of the students and schools in 4 sides. The average total score on all sides was 4.37. Level standard deviation equal to 0.59. It means the curriculum had been valuably developed and suitable for schools.
2. Plan Cooperative Learning on curriculum of social studies, religious and cultural study of Asian studies on Secondary level had been developed efficiency (E1/E2) of 82.74/81.55, which was higher than the criterion
3. Plan Cooperative Learning on curriculum of social studies, religion and culture on Asian studies in upper level ,the effectiveness index equaled 0.6486 ,it mean student’s progress increase, the percentage equals 64.86.
4. Analysis of student satisfaction towards learning curriculum, social studies, religion and culture department on Asian studies in upper level was developed. Overall satisfaction was high ( X = 4.49). And made the students happy, life skills, recognized and valued to live in ASEAN society happily together. We could take the result to gain to others.