Synthesis of Research on Learning Management for French Language in Thailand

Main Article Content

Wiroj Kosolritthichai

Abstract

Scientific research is a compulsory task not only for higher education learners but also for secondary and university instructors. It can also reveal knowledge, skills, the ability to conduct research as well as academic competence among teachers. In Thailand, for example, classroom research has been promoted among secondary and university instructors for the promotion of academic credentials and professional careers. This research aims to find the instructional models that Thai instructors have implemented during their instruction and for the benefit of their learners by synthesizing the researches conducted by French instructors in Thailand in the field of learning management of French as a Foreign Language which were published from 2011 until 2021. The synthesis of research was carried out through two qualitative synthesis methods such as content analysis and qualitative meta-synthesis. The results of the synthesis show us that Thai instructors used a total of 18 instructional models to ensure the instruction of French with an emphasis on cognitive development as well as the communication skills in French of their learners. In terms of research methodology in teaching French as a Foreign Language, the Thai instructor-researchers carried out the pre-experimental research in French class with an experimental group evaluated through a pre-test and a post-test.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด.

กวิลัยพร พันธ์ศิริ. สิทธิพล อาจอินทร์. (2560). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาฝรั่งเศสเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ DR-TA ร่วมกับหนังสือการ์ตูนประกอบบทเรียนภาษาฝรั่งเศส. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(4), 1-12.

กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2563). การจัดการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชลธิชา ทิพย์ดวงตา ศักดา สวาทะนันทน์ นงลักษณ์ เขียนงาม และพรสวรรค์ เพ่งพิศ. (2559). ผลการใช้เพลงภาษาฝรั่งเศสเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนประโยคความเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ. 11(1), 273-289.

ดนยา ด่านสวัสดิ์. (2562). ความสามารถในการเขียนโปรแกรมการท่องเที่ยวภาษาฝรั่งเศสของนักศึกษาสาขาวิชาจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการโดยใช้คลังข้อมูล. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, ปีที่ 42(1), 21-39.

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 23. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธนนันท์ ธนารัชตะภูมิ. (2549). การพัฒนาวิธีการสังเคราะห์งานวิจัยในชั้นเรียน. ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ธีระ รุ่งธีระ. (2563). การศึกษาภาพรวมการวิจัยทางด้านการออกเสียงและการรับรู้เสียงภาษาฝรั่งเศสของผู้เรียนชาวไทย. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 43(2), 144-160.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). การวิเคราะห์อภิมาน. กรุงเทพฯ : นิชินแอดเวอร์ไทซิ่งกรุ๊ฟ.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). การวิเคราะห์อภิมาน. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นงลักษณ์ วิรัชชัย, และสุวิมล ว่องวาณิช. (2542). รายงานการวิจัย เรื่อง การสังเคราะห์งานวิจัยทางการศึกษาด้วยการวิเคราะห์อภิมานและการวิเคราะห์เนื้อหา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

นันทนิจ ธูปจุ้ย. (2560). การพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาฝรั่งเศสโดยใช้วิธีการเขียนแบบเน้นกระบวนการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก. ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, อุตรดิตถ์.

นิติบดี ศุขเจริญ, และวัยวุฑฒ์ อยู่ในศิล. (2557). การวิเคราะห์อภิมานและการสังเคราะห์อภิมาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(3), 43-55.

นิธิ ศีลวัตกุล. วาทินี ลิ้มโภคา. อรนิดา วีรบุตร. (2561). การใช้แผนผังความคิดในการเรียนการสอนไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศส เรื่องประพันธสรรพนาม (les pronoms relatifs). วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 41(2), 42-55.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น ฉบับปรับปรุงใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุรีวิยาสาส์น. อ้างถึงใน นันทนิจ ธูปจุ้ย. (2560). การพัฒนาความสามารถในการเขียนภาษาฝรั่งเศสโดยใช้วิธีการเขียนแบบเน้นกระบวนการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก. ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, อุตรดิตถ์.

บุญส่ง นิลแก้ว. (2539). การประเมินระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อ้างถึงในชลธิชา ทิพย์ดวงตา. (2559). ผลการใช้เพลงภาษาฝรั่งเศสเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนประโยคความเดียวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

ประภา งานไพโรจน์. (2533). ผลงานวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในหนึ่งทศวรรษ (พ.ศ. 2523-2533). กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ปัทมา ดีสวัธน์ศรีเพชร. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคกระบวนการคิดเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต, ปทุมธานี.

ปิยจิตร สังข์พานิช. (2557). การออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับอิงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิรายวิชาภาษาฝรั่งเศสเพื่ออุตสาหกรรมการโรงแรมสำหรับระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ. 37(2), 24-40.

ปิยจิตร สังข์พานิช. (2555). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเรียนรู้ จากกรณีปัญหาสำหรับนักศึกษาวิชาเอกภาษาฝรั่งเศสธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 35 (2), 38-49.

ปิยจิตร สังข์พานิช. (2560). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาฝรั่งเศสด้วยการแสดงบทบาทสมมติสําหรับ นักศึกษา วิชาเอกการจัดการการท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, ปีที่ 40(2), 41-54.

มณทิญา พ่วงทรัพย์. (2561). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ peer review บนบล็อคเพื่อพัฒนาความสามารถในการวิจารณ์และแรงจูงใจในการเขียนบทความภาษาฝรั่งเศส. มนุษยศาสตร์สาร, 18(2), 213-244.

มันตา วงศ์จันทรา. (2560). การพัฒนาความสามารถในการเขียนสื่อความภาษาฝรั่งเศสด้วยเทคนิคผังความคิดสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนพิริยาลัยจังหวัดแพร่. ครุศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, อุตรดิตถ์.

รัตนะ บัวสนธ์. (2552). การสังเคราะห์งานวิจัยและประเมินเชิงผสมผสานวิธี. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 22(3), 269-288.

รัตนะ บัวสนธ์. (2555). วิธีการเชิงผสมผสานสำหรับการวิจัยและประเมิน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิโรจน์ โกศลฤทธิชัย. (2558). การสอนไวยากรณ์ฝรั่งเศสสําหรับผู้เริ่มเรียนโดยใช้โมเดลการสร้างมโนทัศน์แบบ Concept Attainment. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ. 38(1), 45-55.

แววดาว บุญตา. (2559). การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบแผนที่ความคิดที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ. เชียงใหม่ : วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ. อ้างถึงในนิธิ ศีลวัตกุล, วาทินี ลิ้มโภคา, และ อรนิดา วีรบุตร. (2561). การใช้แผนผังความคิดในการเรียนการสอนไวยากรณ์ภาษาฝรั่งเศส เรื่องประพันธสรรพนาม (les pronoms relatifs). วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 41(2), 42-55.

สัญญา เคณาภูมิ. (2562). หลักการและแนวทางการสังเคราะห์งานวิชาการ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 3(2), 89-106.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). รายงานการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาไทย : การวิเคราะห์อภิมาน. กรุงเทพฯ : สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2556). การศึกษาสภาพการวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในประเทศไทยในรอบทศวรรษ. วารสารมนุษยศาสตร์, 20(2), 178-199.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2562). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาฝรั่งเศสเชิงรุกโดยใช้กระบวนการกลุ่ม. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 19(2), 83-101.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2556). การออกแบบและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยใช้ทักษะเป็นฐานความคิดในรายวิชาภาษาฝรั่งเศสสำหรับเลขานุการ. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์, 30(1), 89-106.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2556). ทิศทางการวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในประเทศไทย. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 36(1), 44-56.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย. (2560). กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกสําหรับผู้เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับเริ่มต้น. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 40(2), 16-27.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย, และชนยา ด่านสวัสดิ์. (2555). ผลการใช้หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้การวิจัยเป็นฐาน ในรายวิชาภาษาฝรั่งเศสระดับกลาง 1 สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(2), 49-64.

สิรจิตต์ เดชอมรชัย, และชนยา ด่านสวัสดิ์. (2560). กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมอภิปัญญาของผู้เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับเริ่มต้น. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(3), 1-14.

สุทิษา โรจนอนันต์และคณะ. (2558). การสังเคราะห์องค์ความรู้งานวิจัยในรอบทศวรรษของสาขาวิชาฝรั่งเศสศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 34(1), 18-37.

สุนิสา บุตรกัณหา, และปริณ ทนันชัยบุตร. (2559). การพัฒนาความสามารถทางการเขียนภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบ TGT ร่วมกับกิจกรรมเกมพัฒนาการเขียน. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10(5), 161-165.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2545). เคล็ดลับการทำวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรไทย.

อนิวรรต พิภพวงศ์ไพศาล. (2559). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL-Plus จากสื่อเอกสารจริงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาฝรั่งเศสเพื่อความเข้าใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

อนิวรรต พิภพวงศ์ไพศาล, และอมรรัตน์ วัฒนาธร. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ KWL-Plus จากสื่อเอกสารจริงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาฝรั่งเศสเพื่อความเข้าใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(2), 273-288.

อารีรัตน์ ปิ่นทอง. (2559). การพัฒนาทักษะการฟัง–การพูดภาษาฝรั่งเศสของนิสิตชั้นปีที่ ๑ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารสมาคมครูภาษาฝรั่งเศสแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ฯ, 39(2), 100-113.

อำภา ด่านภักดี. (2555). การส่งเสริมทักษะการคิดไตร่ตรองในการเรียนการสอนกระบวนวิชาการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส. รายงานการวิจัย. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อุทุมพร (ทองอุไทย) จามรมาน. (2531). การสังเคราะห์งานวิจัย : เชิงปริมาณ เน้นวิธีวิเคราะห์เมตต้า. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ฟันนี่พับบลิชชิ่ง.