The Educational Quality Assurance Staffs: Representation of the Change Agent
Main Article Content
Abstract
Quality assurance is a priority of all institutions as the main function of their operation. The quality assurance staffs are responsible to get new information about quality assurance and release it to related parties so as to motivate people. Therefore, the quality assurance staffs act as a change agent, or a mediator between the quality assurance process and academic staffs. This article is based on interviews with the quality assurance staffs of a university. The findings reveal that, to stimulate the changes and induce the adoption of quality assurance, the quality assurance staffs performed their role as “strategy setting, reinforcing, exemplar setting, motivating, and adjusting. In addition, the university also aims to generate understanding about the role of change agent so as to guide the development of quality assurance in the educational system even further.
นักประกันคุณภาพการศึกษา: การเป็นตัวแทนแห่งการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรม
การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเรื่องที่สถาบันการศึกษาทุกแห่งให้ความสำคัญเพราะถือเป็นหน้าที่หลักอย่างหนึ่งของสถาบัน การศึกษา โดยผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายจะต้องให้ความร่วมมือจึงเกิดหน้าที่นักประกันคุณภาพการศึกษาที่คอยทำหน้าที่ในการรับข้อมูลนโยบายแนวคิดใหม่ๆ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพ เพื่อมาเผยแพร่แก่บุคคลในองค์กร และสร้างแรงจูงใจให้บุคคลเกิดการยอมรับสิ่งต่างๆ ดังนั้น นักประกันคุณภาพการศึกษาจึงเปรียบเสมือนตัวแทนการเปลี่ยนแปลงที่เป็นสื่อกลางระหว่างการประกันคุณภาพการศึกษา และบุคลากร ในสถาบันการศึกษาให้เป็นไปอย่างราบรื่น บทความนี้ได้จากการสัมภาษณ์นักประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ซึ่งพบว่า การทำหน้าที่ของนักประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งนั้นได้ใช้กลยุทธ์ “วางหมาก ตอกย้ำ ทำเป็นตัวอย่าง สร้างแรง จูงใจ แก้ไขปรับปรุง” ในการกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและยอมรับเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่สามารถทำให้ การทำหน้าที่ของนักประกันคุณภาพการศึกษาดำเนินไปได้อย่างสำเร็จ นอกจากนี้แล้วจะสร้างความเข้าใจในบทบาทของตัวแทนแห่งการ เปลี่ยนแปลง และการทำหน้าที่นักประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
Article Details
The manuscript submitted for publication must be the original version, submitted only to this particular journal with no prior acceptance for publication elsewhere in other academic journals. The manuscript must also not violate the copyright issue by means of plagiarism.