Innovation Analysis for Business Productivity

Main Article Content

Inpong Luanglath

Abstract

The purpose of this paper is to provide tools for the determination and analysis of innovation through statistical methods. Innovation is defined by the confidence interval of the normal probability distribution density function where \inline \mu \inline \pm 2\inline \sigma = 0.95 leaving a room of \inline \pm\inline \alpha= 0.05 for innovation analysis. The upper tail of the probability distribution density curve (\inline \pm\inline \alpha = 0.025) and the lower tail of the curve: -\inline \alpha= -0.025 are subject of innovation analysis. Innovation is tested by comparing the claimed output change against the industry reference mean. Innovation may also be proven where there is no external reference. Absent such an external reference indicator, the Dixon outliers test may be used.

 

วัตถุประสงค์ของบทความนี้ คือ การนำเสนอวิธีการพิสูจน์และวิเคราะห์นวัตกรรมใหม่โดยการใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติเป็นเครื่องมือ นวัตกรรมใหม่ ถูกนิยามโดยใช้ช่วงความเชื่อมั่นของความหนาแน่นของการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบปกติในระยะ \inline \mu \inline \pm 2\inline \sigma = 0.95 และกำหนดให้ความหนาแน่นของการแจกแจงความน่าจะเป็นนอกระยะ คือ \inline \pm\inline \alpha = 0.05 เป็นระยะการวิเคราะห์นวัตกรรมใหม่ ทั้งนี้ ความหนาแน่นของการแจกแจงความน่าจะเป็นช่วงบน คือ \inline \pm\inline \alpha = 0.025 และช่วงล่าง คือ -\inline \alpha = -0.025 ของเส้นโค้งรูประฆัง ซึ่งเป็นขอบเขตในการสนับสนุนว่ามีนวัตกรรมใหม่เกิดขึ้น การพิสูจน์นวัตกรรมใหม่สามารถกระทำได้โดยการเปรียบเทียบความแตกต่างจากค่าเฉลี่ยของปริมาณผลิตผลภายในองค์กรโดยใช้ปริมาณผลิตผลของอุตสาหกรรมเป็นตัวเลขอ้างอิง นวัตกรรมใหม่ยังสามารถพิสูจน์ได้เมื่อไม่มีจุดอ้างอิงจากภายนอก โดยใช้วิธีการทดสอบค่าแตกต่างระหว่างตัวแปรน้อยที่สุดกับตัวแปรมากที่สุดของ Dixon

Article Details

How to Cite
Luanglath, I. (2014). Innovation Analysis for Business Productivity. Executive Journal, 34(1), 23–39. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/executivejournal/article/view/80940
Section
Academic Articles