Evaluating Digital Literacy Skills of EFL Thai Students’ Using LINE Chat Application
Main Article Content
Abstract
This article provides the explanations of the key term “digital literacy” which is the foundation of optimizing learning outcomes for education in the 21st century. In the new learning environment, activities are done using digital tools. Realizing that LINE is the most popular application that young people are using now, the author incorporates LINE into a classroom at Bangkok University. Creating a LINE group enables the teacher and students to participate in the discussions as much as they want. The student-teacher interaction in LINE reflects a great deal of collaboration and response given to a very detailed question regarding unethical advertisement which the author poses. The effectiveness of employing social media system such as LINE in learning activities has become a common thread in the education vis-a-vis digital technology discourse. The digital learning environment makes a growing digitally cognitive person. In this regard, training can help teachers become aware of how knowledge is constructed to enhance learner’s digital literacy skills.
บทความนี้อธิบายความหมายของคำว่า “ความสามารถในการใช้สารสนเทศรูปแบบต่างๆ” ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุดสำหรับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบใหม่ที่มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ผ่านเครื่องมือในรูปแบบดิจิทัล ผู้เขียนได้ตระหนักดีว่าในปัจจุบันไลน์เป็นแอปพลิเคชันที่วัยรุ่นนิยมใช้กันอย่างมาก จึงได้นำมาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การสร้างกลุ่มไลน์ทำให้อาจารย์และนักศีกษาได้พูดคุยกันอย่างกว้างขวาง การปฏิสัมพันธ์ของอาจารย์และนักศึกษาในไลน์สะท้อนถึงความร่วมมือกันเป็นอย่างดี รวมถึงมีการแสดงความคิดเห็นต่อข้อคำถามที่เกี่ยวกับการโฆษณาที่ไร้จริยธรรมที่ผู้เขียนได้ตั้งประเด็นไว้ ประสิทธิผลของการใช้ระบบสังคมออนไลน์ เช่น ไลน์ในกิจกรรมการเรียนจึงเข้ามาเกี่ยวข้องกับการศึกษาในแง่วาทกรรมผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล สภาพการเรียนรู้แบบนี้สร้างให้คนมีความรู้ความเข้าใจทางด้านสารสนเทศมากขึ้น ดังนั้น การอบรมจะสามารถช่วยให้อาจารย์ตระหนักยิ่งขึ้นว่าจะสร้างความรู้อย่างไรเพื่อเพิ่มทักษะความสามารถในการใช้สารสนเทศรูปแบบต่างๆ ของผู้เรียนได้
Article Details
The manuscript submitted for publication must be the original version, submitted only to this particular journal with no prior acceptance for publication elsewhere in other academic journals. The manuscript must also not violate the copyright issue by means of plagiarism.