การออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าว ผัก และส้มโอสำหรับการบริโภคเพื่อเพิ่มมูลค่า

Main Article Content

ปิยะวรรณ ปิ่นแก้ว
ศุภมาศ ปั้นปัญญา
ศิริญญา อารยะจารุ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาคุณสมบัติวัสดุบรรจุภัณฑ์สำหรับการรักษาคุณภาพสำหรับข้าว ผัก และส้มโอ            2) ศึกษาอัตลักษณ์กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ผัก ส้มโอ สำหรับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 3) ศึกษาความคิดเห็นต่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าว ผัก ส้มโอ และพฤติกรรมการบริโภคที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ  ผลการศึกษาพบว่า 1) ส้มโอที่เคลือบสารละลายไคโตซานที่ความเข้มข้นที่ 1.5% และ 2.0%, ถุงบรรจุข้าวสารที่มีความหนาขนาด 130 ไมครอนแบบปิดผนึกแบบสูญญกาศ ผักที่ฉีดพ่นสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ที่มีความเข้มข้น 5% และบรรจุผักลงถุงที่มีขนาดความหนา 145 ไมครอนโดยปิดผนึกแบบธรรมดาจะช่วยรักษาและยืดอายุผลิตภัณฑ์โดยมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด 2) อัตลักษณ์ที่กลุ่มเกษตรกรต้องการ คือ อัตลักษณ์ที่สะท้อนแหล่งผลิต คุณภาพของผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิตที่ตรวจสอบย้อนกลับได้และอัตลักษณ์ตราสินค้าที่สร้างภาพลักษณ์การจดจำ 3) ความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวลูกกตัญญูมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก  ข้าวและผักคลองโยงออแกนิคมีเหมาะสมระดับมากที่สุด ส้มโอมณฑลนครไชยศรีมีเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด  และผู้บริโภคตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เกษตรที่มีความมั่นใจว่าปลอดภัย มีเครื่องหมายสัญลักษณ์รับรองคุณภาพ และซื้อจากสถานที่จำหน่ายที่ความน่าเชื่อถือ มีความยินดีที่จะซื้อในราคาที่สูงกว่าท้องตลาด 1 เท่า และบรรจุภัณฑ์มีส่วนสำคัญในการตัดสินใจซื้ออยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
การออกแบบ

References

กรมวิชาการเกษตร. (2559). ข้อกำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจประเมินว่าเป็นไปตามระบบการผลิตส้มโอ GAP. สืบค้น 22 ธันวาคม

, จาก http://gap.doa.go.th/gap/estimate.html

_______. (2559). พื้นที่การเพาะปลูกข้าวในจังหวัดนครปฐม. สืบค้น 18 มีนาคม 2561, จาก http://www.nakhonpathom.doae.go.th/

กรมส่งเสริมการเกษตร ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). ระบบสารสนเทศข้อมูลสถาบันเกษตรกร. สืบค้น 15 เมษายน 2561, จาก http://www.ictc.doae.go.th/?page_id=703.

ชัยรัตน์ อัศวรางกูร. (2548). ออกแบบให้โดนใจ. กรุงเทพฯ: มติชน.

แทน ธันยวีร์. (2558). ส้มโอนครชัยศรี มาตรฐานพรีเมี่ยม ของดี จ.นครปฐม. นิตยสารรักษ์เกษตร. สืบค้น 1 สิงหาคม 2561, จาก http://tantai24.blogspot.com/2015/09/

ธีรพัฒน์ แจ่มจรรยา. (2541). การควบคุมการเจริญของเชื้อรา ด้วยสารเคมีบางชนิดกับส้มโอที่ปอกเปลือกแล้ว. กรุงเทพฯ: คณะเกษตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

บริษัท บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม. (2551). บรรจุภัณฑ์เพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม. สืบค้น 15 มกราคม 2561, จาก

http://www.thaitecno.net/dip/homephp?uid= 39536.

เบญจมาส รัตนชินกร และศิรกานต์ ศรีธัญรัตน์. (2553). ผลของฟิล์มพลาสติกต่อคุณภาพการเก็บรักษาลำไย. วิทยาศาสตร์เกษตร,

(3/1 พิเศษ), 509 – 512.

ประภาพรรณ เพียรชอบ. (2554). การบรรจุผลิตภัณฑ์อาหาร. นครปฐม: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ

นครปฐม.

ปาพจน์ หนุนภักดี. (2553). หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟิกดีไซน์. นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์.

ปิยะวรรณ ปิ่นแก้ว. (2559). การสร้างมาตรฐานตราสินค้าประจำจังหวัด: ผลิตภัณฑ์จังหวัดนครปฐม. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

สาขาทัศนศิลป์และการออกแบบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกียรติ. (2541). บรรจุภัณฑ์อาหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์หยี่เฮง.

มยุรี ภาคลำเจียก. (2556). บรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภคบริโภค. กรุงเทพฯ: บริษัทโรงพิมพ์หยี่เฮง

รัฐวัชร์ พัฒนจิระรุจน์. (2557). ทฤษฎีการตลาด Marketing theory. ค้นเมื่อ 8 ตุลาคม 2559, จาก http://poundtv5.blogspot.com

/2014/11/marketing-theory-dba06.html

ลัดดา โศภนรัตน์ . (2546). อิทธิพลของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ต่อกระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

วรพงศ์ วรชาติอุดมพงศ์. (2538). บทความรู้ทางการออกแบบพาณิชยศิลป์ออกแบบกราฟิก (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

วชิระ น้อยนารถ, พัชราวดี ศรีบุญเรือง และสาวิตรี รังสิภัทร์ (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรปลอดสารพิษ

ของผู้บริโภคร้านโกลเด้นเพลส สาขามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 35 (1), 136-145

วิทวัส ชัยปาณี. (2548). สร้างแบรนด์อย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: มติชน.

วิรญา ครองยุติ. (2558). การศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาผลของการจุ่มน้ำร้อนร่วมกับการบรรจุในภาชนะบรรจุภายใต้สภาพบรรยากาศ

ดัดแปลง. In The First International Symposium on Quality Management of Organic Horticultural Produce (QMOH2015) and The International Conference on Sustainability of Organic Argriculture (SOA2015) (7- 9 ธันวาคม) อุบลราชธานี: โรงแรมสุนีย์แกรนด์ แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์.

วิรุณ ตั้งเจริญ. (2545). ออกแบบกราฟิค. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2552). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร. (2559) ระบบสารสนเทศข้อมูลสถาบันเกษตรกร. สืบค้น 15 เมษายน 2561, จาก http://www.ictc.doae.go.th/?page_id=703

สำนักงานจังหวัดนครปฐม, กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด. (2559). แผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม 4 ปี (พ.ศ.2561- 2564). สืบค้น 1 สิงหาคม 2561, จาก http://www.nakhonpathom.go.th/files/com_news_develop_plan/2016-11

_71a0e26cc1c1c8a.pdf

สุพัฒน์ คำไทย และคณะ. (2554). การศึกษาประสิทธิภาพของบรรจุณฑ์แอคทิฟเยื่อกระดาษขึ้นรูปเพื่อยืดอายุการเก็บรักษามะม่วง

น้ำดอกไม้. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบรรจุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เสรี วงษ์มณฑา และชุษณะ เตชคณา. (2550). ลุ่มลึกกับแบรนด์. กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

อริศรา รุ่งแสง (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อผักปลอดสารพิษของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. (2541). การออกแบบตราสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ: ภาควิชานฤมิตศิลป์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Kotler, P. (2000). Marketing management (10th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Orth, U. R. & Malkewitz, K. (2014). Creating brand impressions through package design. In D. Sharma & S. Borna (eds). Proceedings of the 2007 Academy of Marketing Science (AMS) Annual Conference. Developments in Marketing Science: Proceedings of the Academy of Marketing Science. Springer, Cham. https://doi.org/10.1007/978-3-319-11806-2_111