การศึกษาเปรียบเทียบการแปลวรรณกรรมเรื่อง “เดือนเสื้ยว” 《月牙儿》สองสำนวน
Main Article Content
Abstract
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่อง《月牙儿》ของท่าน 老舍 ฉบับภาษาจีนกับ “เดือนเสี้ยว” ฉบับแปล 2 สำนวน คือ สำนวนของสำนักพิมพ์ ภาษาต่างประเทศ ตีพิมพ์ใน พ.ศ. 2528 และสำนวนของอนิวรรตน์ ตีพิมพ์ในพ.ศ. 2550
ผู้วิจัยได้แบ่งหัวข้อศึกษาเปรียบเทียบสำนวนแปลทั้ง 2 สำนวน โดยวิเคราะห์จาก มุมมองแบบมหภาค คือ การรักษาลีลาการประพันธ์ของผู้แปล และ วิเคราะห์จากมุมมองแบบ จุลภาค คือ กลวิธีการแปลที่ผู้แปลเลือกใช้ การเลือกใช้คำและโครงสร้างประโยค การ ดัดแปลงสำนวนให้เข้ากับวัฒนธรรมปลายทาง การแปลคำอุปมาอุปไมย การแปลสิ่งที่ไม่ ปรากฏหรือไม่เป็นที่รู้จักในวัฒนธรรมของภาษาแปล ฯลฯ พร้อมทั้งประเมินฉบับแปลทั้ง 2 สำนวน และเสนอปัญหาที่พบในการแปลและแนวทางแก้ไข
A Comparative Study on Two Translations of “Crescent moon” in Thai
This is a comparative study on two versions of the Thai translation of “Crescent moon”by Lao She , the Foreign Language Press’ version, published in 1985 and Aniwat’s version, published in 2007.
The researcher analysed both translations from a macro perspective,in studying wheter the translators kept the author’s writing style in their translation, and from a micro perspective focusing on the translation techniques, the use of sentence structures, the transformation from the source language to the receptor’s language,and the art of simile –metaphor translation, etc. The researcher, then, evaluated the two versions pointing out the problems found,and providing solutions to the problems.
对《月牙儿》两个泰译版本的对比研究
本文主要以外文出版社1985年出版的泰文版本的老舍的作品《月 牙儿》和阿尼瓦于2007年翻译的该作品的泰文译本进行对比研究。
本文从宏观上评论两篇译文是否保持原作的语体, 从微观层面对研究译 者的翻译技巧,运用词语及句子结构的选择,对于原作比喻、译文不存在现 象的翻译原则等。本文同时提出两个译本在翻译过程中所出现的误译现象, 并提这些词语的正确翻译方法。
Article Details
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์