การสรุปแนวคิดกลยุทธ์การเขียนบทสนทนาใน สือ-ฟู่

Main Article Content

ลี ชองปอ

Abstract

โดยทั่วไปแนวการสร้างสรรค์งานเขียนบทสนทนาแบบสือ-ฟู่ มักใช้วิธีการเล่าเรื่องที่มีชื่อเสียงจากเรื่องราวในนิทาน อันเป็นลักษณะเดียวกันที่ปรากฏบ่อยครั้งใน จวงจื่อ ซึ่งจาง เสวียเฉิง ได้เคยกล่าวว่า เป็นการสมมติการเรื่องราวและนำความมาเปรียบเทียบกับแนวคิด ดังที่ใช้กันใน จวงจื่อ และ เลี่ยจื่อ ซึ่งทั้งสองมีความเกี่ยวโยงกัน บทความฉบับนี้จะยกเอาตัวอย่างจากซ่งอี่ว์ฟู่กับฮั่นฟู่ และนำไปเปรียบเทียบกับจวงจื่อ เพื่อดูกลยุทธ์ในการเขียนบทสนทนาแบบสือ-ฟู่ ซึ่งจะสามารถเห็นการยกเอาคำกล่าว แนวคิดของคนในอดีตมาเพื่อเป็นข้อสรุปในการให้แนวคิดของตน

 

A Brief Thinking about the Writing Strategy of Ci-Fu Dialog Style

Generally speaking, the dialog style is a common style in Ci-Fu creation. Fables were used well and frequently, in addition, most of them were conversations in the work Zhuangzi. Like the author Zhang Xuecheng pointed out, there is an association between them. Consequently, the writing strategy of Ci-Fu dialog form is going to be inspected through a contrast reading among Song Yu Fu, Han Fu and fables of Zhuangzi in this paper.

 

略谈辞赋对问模式之书写策略

辞赋创作,常见假托人物以问对的形式。《庄子》一书,善用寓言以说理,且多採人物对问方式。如章学诚《校雠通义‧汉志诗赋》所指出:“假设问对,《庄》《列》寓言之遗也”,二者具渊源关系。本文即以宋玉赋和汉赋为例,藉由与《庄》书寓言的对照阅读,来考察辞赋对问模式的书写策略,从中可发现它具有假借人物以代言、观点的推而进之、以所同而胜人之技法等特点。

Article Details

Section
Articles