เซิ่งหมิงลี่ : กปิตันจีนในมาเลเซียที่กลายเป็นเทพเจ้า
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งนำเสนอประเด็นการกลายเป็นเทพเจ้าของเซิ่งหมิงลี่ หัวหน้ากลุ่มจีนแคะที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกปิตันจีนคนแรกแห่งเมืองเซเรมบัน รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน จากการศึกษาพบว่า หลังจากที่เซิ่งหมิงลี่ถูกฆ่า เยี่ยย่าไหล อดีตลูกน้องของเซิ่งหมิงลี่ได้ย้ายไปทำเหมืองแร่ที่กัวลาลัมเปอร์ เป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้การบูชาเซิ่งหมิงลี่เป็นที่ประจักษ์ชัดขึ้น ตำแหน่ง “เซียนซือเหยีย” ที่ได้มาจากการทรงเจ้าเป็นเครื่องยืนยันในวัตถุประสงค์มุ่งก่อเกิดความศรัทธาในดวงวิญญาณของเซิ่งหมิงลี่ ทั้งนี้ มีตำนานเรื่องเล่าที่เกี่ยวพันกันระหว่างดวงวิญญาณของเซิ่งหมิงลี่กับเยี่ยย่าไหลอีกหลายเรื่อง เชื่อว่าเยี่ยย่าไหลมีความประสงค์ที่จะใช้เซิ่งหมิงลี่เป็นศูนย์รวมใจของชาวจีนแคะ เป็นแรงขับเคลื่อนในการสร้างฐานอำนาจ โดยกรรมกรเหมืองแร่ที่เป็นชาวจีนแคะยกย่องเซิ่งหมิงลี่ในฐานะเทพอารักษ์ประจำกลุ่มอาชีพของตน ซึ่งต่อมากรรมกรเหมืองแร่ชาวจีนจากกลุ่มวัฒนธรรมอื่นๆ ก็บูชาในลักษณะดังกล่าวเช่นกัน ทำให้ความศรัทธาของผู้คนที่มีต่อเซิ่งหมิงลี่ขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้น
Article Details
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
References
คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิม
พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ. (2544). วัฒนธรรม พัฒนาการทาง
ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดภูเก็ต. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2545). นิทานโบราณคดี.
กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
วรุณสิริ วัฒนอาภรณ์ชัย. (2534). การสะสมทุนของชาวจีนในมลายู ค.ศ.1819-1900.
กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรรณี บัวเล็ก. (2549). ระบบกงสี: กําเนิดและวิถีชีวิตของชนชั้นแรงงานรับจ้างในประเทศ
ไทย ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 19. กรุงเทพฯ: สำนัก
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2559). “เทพสตรีจีนในสังคมไทย: ว่าด้วยเรื่องชื่อของเจ้าแม่มาจู่”.
ใน พิพัฒน์ กระแจะจันทร์ บรรณาธิการ. พลังผู้หญิง แม่เมีย และเทพสตรี: ความจริง
และภาพแทน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ.
สายฝน จิตนุพงศ์. (2015). “นางเลือดขาว: ตํานานกับการสร้างสินค้าทางวัฒนธรรม”. ใน
สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์. ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 เดือนตุลาคม 2557- มีนาคม 2558.
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล. (2524). สมาคมลับอั้งยี่ในประเทศไทย พ.ศ. 2367-2453.
วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภาษาจีน
冯承钧校注.(1938).《星槎胜览校注》.长沙:商务印书馆.
巩珍著;向达校注.(2017).《西洋番国志》.北京:华文出版社.
汉语大词典编辑委员会.(1990).《汉语大词典》(第一册).上海:汉语大
词典出版社.
何启良主编.(2014).《马来西亚华人人物志》.八打灵:拉曼大学中华研究中心.
黄海德.(2017).“东南亚华人社会与甲必丹制度:马六甲青云亭碑刻铭文
的个案考察”载,《第二届华人宗教国际学术研讨会会议论文集》. 曼谷:泰国法政大学东亚研究所中国学研究中心.
黄文斌.(2013).《马六甲三宝山墓碑集录》(1614-1820).吉隆坡:华社
研究中心.
李丰楙.(2018).《从圣教到道教:马华社会的节俗、信仰与文化》.
台北:台大出版中心.
李乔.(1999).《业神崇拜:中国民众造神运动研究》.北京:中国文联出版社.
李业霖.(1997).《吉隆坡开拓者的足迹:甲必丹叶亚来的一生》.吉隆坡:
华社研究中心.
阮湧俰.(2013).《吉打客家籍甲必丹与华人方言群社会的互动—以戴春桃
与罗启立为个案》. 拉曼大学中华研究院文学硕士学位论文.
石沧金.(2006). “叶亚来与仙四师爷庙关系考察”载《东南亚纵横》.
第4期.
石沧金.(2014). “原乡与本土之间:马来西亚客家人的民间信仰考察”
载《八桂侨刊》. 第4期.
王赓武著;姚楠编译.(1988).《南海贸易与南洋华人》. 香港:中华书局
香港分局.
王国平.(1993). “秘密会社对近代东南亚华人社会的影响”载
《东南亚》. 第1期.
王琛发.(2018). “清代以来马来亚道教的落地形态与演变”载《弘道》.
第1期.
武斌.(1998).《中华文化海外传播史》. 西安:陕西人民出版社.
巫乐华主编.(1994).《华侨史概要》. 北京:中国华侨出版社.
颜清湟.(2017).《海外华人世界:族群、人物与政治》. 新加坡:新加坡
国立大学中文系和八方文化企业公司.
叶耿瑾.(2004). “吉隆坡华人古建筑的保护现状——以仙四师爷庙为实
例””载《文物世界》. 第2期.
张廷玉等.(1974).《明史》. 北京:中华书局.
张维安.(2018). “从马来西亚客家到华人的在地信仰:仙师爷盛明利”载
萧新煌主编.《台湾与东南亚客家认同的比较:延续、断裂、重组与创
新》. 中坜:国立中央大学出版中心.
张晓威.(2017). “甲必丹叶观盛时代的吉隆坡客家帮权政治发展(1889-
1902)”载《全球客家研究》. 第9期.