การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงด้วยการสอนแบบปรากฎการณ์เป็นฐาน รูปแบบการเรียนรู้จากประเทศฟินแลนด์
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปี 1985 ประเทศฟินแลนด์ได้มีการปฏิรูปหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติขึ้น จากการปฏิรูปครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดการศึกษาของประเทศฟินแลนด์เริ่มให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นอิสระ มองข้ามความเข้มข้นของเนื้อหาวิชา การเรียนรู้เพียงแค่ในห้องเรียนไม่ใช่สิ่งสำคัญอีกต่อไป การเรียนรู้จากปรากฏการณ์จริง (Phenomenon Based Learning : PhenoBLหรือPhBL) ได้ถูกบรรจุในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศฟินแลนด์อย่างเป็นทางการ เป็นการเรียนรู้ด้วยองค์รวมเพื่อส่งเสริมเป้าหมายทางการศึกษา ร่วมกับการเรียนรู้ด้วยสหวิทยาการต้องอาศัยความรู้จากสาขาวิชาที่หลากหลาย บทความนี้ต้องการนำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยปรากฎการณ์เป็นฐาน ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่อยู่บนพื้นฐานของแนวคิดพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) เป็นการบูรณาการระหว่างรายวิชา เป็นการเรียนรู้ที่สามารถชี้ให้เห็นว่าปรากฏการณ์เดียวกันสามารถตีความได้จากพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกัน กระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความรู้และประสบการณ์อย่างเต็มที่ ตั้งคำถามและค้นหาคำตอบอย่างกระตือรือร้น บูรณาการความรู้จากปรากฎการณ์ที่ได้เรียนรู้และสรุปผล ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสำคัญอย่างแท้จริง เพื่อเป็นแนวทางให้กับผู้สนใจนำไปปรับประยุกต์ใช้ต่อไป
Article Details
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
References
กรัณพล วิวรรธมงคล. (2561). รูปแบบการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ ส่งเสริม ความสามารถจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาในระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐาน. วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขา
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11 (3) , 92-114.
พงศธร มหาวิจิตร. (2560). การเรียนกระตุ้นความคิด นวัตกรรมการเรียนรู้จากฟินแลนด์
ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารสสวท.,
46 (409) , 40-45.
ไพศาล สุวรรณน้อย. (2559). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning:
PBL). เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนาการ เรียนการสอน สถาบันพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ค้นเมื่อ 30 มกราคม 2559, จาก
http://ph.kku.ac.th/thai/images/file/km/ pbl-he-58-1.pdf.
ณัฐฌาภรณ์ เดชราช. (2562). ฐานคิดในการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาสามัตถิยะสื่อสาร
ระหว่างวัฒนธรรมของนักศึกษาไทย.วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
14 (2) , 65-82.
อรพรรณ บุตรกตัญญู.(2561).การเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานเพื่อการสร้างมุมมอง
แบบองค์รวมและการเข้าถึงโลกแห่งความเป็นจริงของผู้เรียน.วารสารครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.46 (2) , 73-90.
อัญชลิการ์ ขันติ สมเกียรติ อินทสิงห์ สุนทรี คนเที่ยง สุนันชัย ออนตะไคร้(2562).การใช้
กิจกรรมสถานการณ์จำลองเพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟังและการพูดภาษาจีนของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร
ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ.12 (1) , 467-483.
พงศธร มหาวิจิตร.(2560). การเรียนกระตุ้นความคิด นวัตกรรมการเรียนรู้จากฟินแลนด์
ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วารสาร สสวท.
46 (409) , 40-45.
ภาษาอังกฤษ
Zhukov, T. (2015). Phenomenon-Based Learning: What is PBL? Retrieved May
22, 2019, fromhttps://www.noodle.com/articles/phenomenon-based-learning-what-is-pbl.Silander, P. (2015). Phenomenon Education.Retrieve April
18, 2019 from http://www.phenomenaleducation.info/phenomenon-
based-learning.html
Kilani, A. B.(2016).What is Phenomenon-Based Learning? Retrieved May 16,
2019 from https://bit.ly/2UStmnS.
Beane, J. A. (1997). Curriculum integration: Designing the core of
democratic education. New York, NY: Teachers College Press.
Bernstein, B. (975). Class, codes and control. London, UK: Routledge and
Kegan
Symeonidis, V., & Schwarz, J. F. (2016). Phenomenon-Based Teaching and
Learning through the Pedagogical Lenses of Phenomenology: The
Recent Curriculum Reform in Finland.
Crick, R. D., Ren, K., & Stringher, C. (2014). Introduction. In R. D. Crick, K. Ren, &
C. Stringher (Eds.), Learning to learn: International perspectives from
theory and practice (pp. 1-5). London, UK: Routledge.
Commission of the European Communities. (2006). Recommendation of the
European parliament and of the council of 18 December 2006 on
key competences for lifelong learning. Retrieved from
http://data.europa.eu/eli/reco/2006/962/oj
Fertig, M. (2003). Who’s to blame? The determinants of German students’
achievement in the PISA 2000 study. Retrieved from http://ftp.iza.org/dp739.pdf
Finnish Natnal Board of Education, Hanhijoki, I., Katajisto, J., Kimari, M., & Savioja, H. (2012). Education, training and demand for labour in Finland by
2025. Retrieved from https://bit.ly/3e6VGtW
Finnish National Agency for Education. [FNAE] (2017). The new curricula in a
nutshell. Retrieved from https://bit.ly/34kKghO
Fogarty, R. (2003). How to integrate the curricula (3rd ed.). Thousand Oaks,
CA: Corwin.
Noah, H. J. (1986). The use and abuse of comparative education. Comparative
Education Review, 28(4), 550-562.
Silander, P. (2015). Phenomenon based learning rubric. Retrieved from
http://nebula.wsimg.com/c58399e5d05e6a656d6e74f40b9e0c09?
AccessKeyId=3209BE92A5393B603C75&disposition=0&alloworigin=1
Tawil, A., & Cougoureus, M. (2013). Revisiting learning: The treasure within –
assessing the influence of the 1996 Delors Report. Paris, France: UNESCO.
Retrieved from https://bit.ly/2JPgMPG
ภาษาจีน
林维贞.(2012).专题式学习.国家教育研究院. 来自: https://bit.ly/2UQCCZl
王雅玲,詹宝菁(2017)芬兰新课程纲要及现象学习探索探究:兼论其其台
湾实施跨领域课第之启示与挑战,教育脉动电子期刊第17期国家教育
研究院发行.来自:https://bit.ly/2yDU6zv