การศึกษาส่วนประสมทางการตลาดของสินค้าในถนนคนเดินจังหวัดพิษณุโลก
คำสำคัญ:
ส่วนประสมทางการตลาด, ถนนคนเดินบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของสินค้าในถนนคนเดินจังหวัดพิษณุโลก 2) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับประสมทางการตลาดของสินค้าในถนนคนเดินจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่เดินทางมาท่องเที่ยวหรือเคยซื้อสินค้าในถนนคนเดินจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 385 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.854 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยใช้วิธีการทดสอบ t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า ระดับความคิดเห็นปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของสินค้าในถนนคนเดินจังหวัดพิษณุโลก โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านการจัดจำหน่าย ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า ผู้บริโภคที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของสินค้าไม่แตกต่างกัน ส่วนผู้บริโภคที่มีอาชีพแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านราคาแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
จารุวรรณ เจตเกษกิจ. (2555). การใส่วัฒนธรรมเข้าไปในตัวสินค้า. อุตสาหกรรมสาร. ปีที่54 (6): (พฤศจิกายน - ธันวาคม). 18-19.
ฉัตยาพร เสมอใจ. (2548). การจัดการและตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ชลันดา ใกล้ชิด. (2557). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อ ซิเคด้ามาร์เก็ต ในอำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ และการท่องเที่ยว). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
เทศบาลนครพิษณุโลก. (2552). โครงการถนนคนเดินเมืองพิษณุโลก 2552-2554. พิษณุโลก: เทศบาลนครพิษณุโลก.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซน์.
ปณิศา ลัญชานนท์. (2548). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
พุทธชาด อินทร์บำรุง. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคภายในตลาดนัดธนบุรี. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการประกอบการ), มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณี และวีระ สัจกุล. (2555). การใช้พื้นที่สาธารณะเป็นถนนคนเดินแบบตลาดนัดในเมืองไทย. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง. ปีที่8(3). 121-142.
เรณู แสงอาวุธ. (2553). พฤติกรรมการใช้บริการตลาดนัดของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สาขาวิชาบริหารธุรกิจ), มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2548). กลยุทธ์การตลาด การบริหารการตลาดและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
สำนักงานจังหวัดพิษณุโลก. (2561). แผนพัฒนาจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2561 – 2564. พิษณุโลก: สำนักงานจังหวัดพิษณุโลก.
สิทธิ์ ธีรสรณ์. (2552). การตลาดจากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภัทรา เพี้ยนดิษฐ. (2553). พฤติกรรมในการซื้อสินค้าของผู้บริโภคในตลาดน้ำไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี.ปริญญานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การตลาด). มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
Best, J. W. (1981). Research in education. (4th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Blackwell, Roger D., Miniard, Paul W., & Engel, James F. (2006). Consumer Behavior. (10th ed.). Ohio: Thomson South-Western.
Chiu, C. M., Wang, E. T., Fang, Y. H., & Huang, H. Y. (2014). Understanding customers' repeat purchase intentions in B2C e-commerce: The roles of utilitarian value,hedonic value and perceived risk. Information System Journal. 24(1), 85-114.
Cochran, W.G. (1953). Sampling Techniques. New York: John Wiley & Sons. Inc.
Cronbach, L. J. (1974). Essentials of psychological testing. (3rd ed.). New York: Harper and Row.
Huang, S., & Hsu, C. H. C. (2009). Effects of travel motivation, past experience, perceived constraint, and attitude on revisit intention. J. Travel Res. 48(1), 29-44.
Kikuchi, A. & Ryan, C. (2007). Street Markets as Tourist Attractions-Victoria Market. Auckland: New Zealand.
Kotler, Philip. & Armstrong, G. (2012). Principles of marketing. New York: Pearson Education.
Kotler, Philip. (1994). Marketing management: Analysis planning implementation and control. (8th ed.). New Jersey: Prentice–Hall.
Kotler, Philip. (2003). Marketing Management. (11th ed.). New Jersey: Prentice–Hall.
Kotler, Philip. (1997). Marketing Management. (9th ed.). New Jersey: A Simon & Schuster Company.
McCarthy, E. Jerome &. Perreault William D, Jr. (1990). Basic Marketing. (10th ed). Illinois: Richard D. Irwin, Inc.
Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
Solomon, Michael R. (2007). Consumer Behavior: Buying, Having and Being. (7th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว