กระบวนทัศน์ใหม่ด้านนโยบายทางการศึกษากับการพัฒนาครูเด็กปฐมวัย ในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • กรจักร สุขลิ้ม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

กระบวนทัศน์การศึกษา, ครูเด็กปฐมวัย, ศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

           การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาความสัมพันธ์ของกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูระดับการศึกษาปฐมวัย 2. เพื่อแสวงหาแนวทางการพัฒนานโยบายการศึกษาให้สอดคล้องกับระดับการศึกษาปฐมวัย และ 3. เพื่อวิเคราะห์บริบทในสังคมไทยเชื่อมสู่การปรับกระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน์ทางการศึกษาเด็กปฐมวัย ในแต่ละช่วงเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนศึกษา บริบทแวดล้อม ที่พัฒนาการศึกษาเด็กปฐมวัยประชากร กลุ่มที่ 1 ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนเด็กปฐมวัย จำนวน 5 คน และครู จำนวน 50 คน รวมประชากรจำนวนทั้งสิ้น 55 คน ประชากร กลุ่มที่ 2 ได้แก่ ผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิชาการ จำนวน 5 คน ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์วิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ทำการสรุปผลการวิจัยรายงาน

References

กรรณิการ์ กาญจันดา, อมรรัตน์ วัฒนาธร, ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2557). การพัฒนายุทธวิธีการสอนที่ส่งเสริมทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ เพื่อการโน้มน้าวของผู้เรียนที่มีความหลากหลายทางพหุปัญญา. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ ฉบับพิเศษ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 2557.
ดร.คนึง สายแก้ว. (2557). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การศึกษาปฐมวัย. สุรินทร์: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
รักษิต สุทธิพงษ์. (2560). กระบวนทัศน์ใหม่ทางการศึกษากับการพัฒนาครูไทยในยุคดิจิตอล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่9 ฉบับที่2 2560.
รุ่ง แก้วแดง. (2540). ปฏิวัติการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา.
มนทกานติ์ รอดคล้าย, พิทยาภรณ์ มานะจุติ. (2555). การพัฒนาเด็กและครอบครัวในศตวรรษที่ 21 (Child and Family Development in the 21th Century): ระดับ: อนุบาลหมวด: เกี่ยวกับอนุบาล ค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2561, จาก http://www.taamkru.com/th/การพัฒนาเด็กและครอบครัวในศตวรรษที่21.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์, พเยาว์ ยินดีสุข. (2557). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). สภาการศึกษาเสวนา 2016-2017 บทบาทการศึกษาไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0 กระทรงศึกษาธิการ. กรุงเทพ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
อารีย์ ธรรมโคร่ง. (2559). ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยการบูรณาการเชิงเนื้อหาผ่านสื่อการเรียนการสอนสมัยใหม่. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ปี12 ฉบับ 1.
Anderson, James E. (1975). Public Policy Making. New York: Praeger.
Educational Innovation and Technology, Suranaree University of Technology. (in Thai)
Jaroenpuntaruk, W. (2015). MOOC: Free Open Education in Digital Era. STOU Education Journal, 8(2), 1-15. (in Thai).
Rangsan Thanaphonphan. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (2003). Setthasat ratthathammanun: Bot wikhroratthathammanunhaeng ratcha anacak thai pho. so. 2540 lem 2. Bangkok: Matichon.
Rungsan Thanaphonphan. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (2005). Jak Thaksinomics su Thaksinathipatai จาก Thaksinomics สู่ ทักษิณาธิปไตย [From Thaksinomics to Thaksinocracy]. Bangkok: Open Books.
Sinlarat, P., et al. (2011). CCPR the new educational framework. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai).
Sweller, J. (2006). The worked example effect and human cognition: Learning and Instruction. New Jersey: Educational Technologies.
Sanrattana, W. (2013). A new paradigm for education: Case studies toward the 21stcentury. Bangkok: Thipayawisut. (in Thai).
Titsana Kemmanee. (2556). Process knowledge efficiency definition Bangkok: Jurarongkorn Univercity.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-13