ความคาดหวังของผู้ปกครองที่มีอิทธิพลต่อการสร้างคุณค่าตราสินค้าเทมโปไชลด์ ในสื่อการเรียนการสอนของเด็กเล็กผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ศิรินุช สงสมพันธ์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • พีรภาว์ ทวีสุข สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

คำสำคัญ:

ความคาดหวังของผู้ปกครอง, การสร้างคุณค่าตราสินค้า, เทมโปไชลด์, สื่อการเรียนการสอนของเด็กเล็ก

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังของผู้ปกครองที่มีอิทธิพลต่อการสร้างคุณค่าตราสินค้าเทมโปไซลด์ในสื่อการเรียนการสอนของเด็กเล็กผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ตัวอย่างคือ ผู้ปกครองนักเรียนระดับอนุบาลปีที่ 1 - 3 (3-5 ปี) ที่ซื้อสินค้าหรือรู้จักสินค้าสื่อการเรียนการสอนเด็กเล็กของเทมโปไซลด์ของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 400 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม ทดสอบสมมติฐานการวิจัยโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ

             ผลการวิจัยพบว่า ความคาดหวังของผู้ปกครองทั้ง 4 ด้าน อันประกอบไปด้วย ความชัดเจนแม่นยำของสินค้า, ความพร้อมใช้ประโยชน์ได้, การมีส่วนร่วม และการให้คำแนะนำมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการสร้างคุณค่าตราสินค้าด้านการรับรู้คุณภาพสินค้าและด้านการเชื่อมโยงตราสินค้าพบว่ามีความคาดหวังระดับปานกลาง ส่วนความคาดหวังของผู้ปกครองด้านการให้คำแนะนำและความแม่นยำชัดเจนมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการสร้างคุณค่าตราสินค้าด้านการสร้างคุณค่าตราสินค้าด้านการตระหนักในคุณค่าตราสินค้า นอกจากนั้นยังพบว่า ความคาดหวังของผู้ปกครองด้านความพร้อมใช้ประโยชน์, การมีส่วนร่วม และการให้คำแนะนำมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความภักดีต่อตราสินค้า

References

กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์, นิติ นิมะลา และอภิรักษ์ อุ่นไธสง. (2016). การออกแบบสื่อการสอนในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนประเภทของเล่นเสริมพัฒนาการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. วารสารวิจัยและพัฒนาฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎส่วนสุนันทา, 8(1), 6-20.
ธนกร ระวังสัจ. (2549). ความคาดหวังของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยหลักสูตรภาษาอังกฤษโรงเรียนอนุบาลสุรีลักษณ์ ตำบลไทรม้า อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี. ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
ธันยาพร ศิริหล่อ และ ธีระวัฒน์จันทึก. (2559). ศึกษาปัจจัยความคาดหวังที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าแผนกเด็กอ่อนในระบบอิเล็กทรอนิกส์บนเว็บไซต์. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะปีที่ 9, ฉบับที่ 2.
ไพโรจน์ ปิยะวงศ์วัฒนา. (2545). การจัดการเชิงกลยุทธ์. เพชรบุรี: คณะวิทยาการจัดการ
สถาบันราชภัฎเพชรบุรี.
มัติกร บุญคง. (2557). งานวิจัยเกี่ยวกับคุณค่าตราสินค้า (Brand Equity) ค.ศ.2009-2013. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 8(1). 55-77.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
วิลาวัลย์ ประสุวรรณ. (2559). ความคาดหวังของผู้ปกครองที่มีต่อการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดอน เทศบาลตำบลเชิงเนิน อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง. การศึกษามหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ศรินยา ทรัพย์วารี. (2552). ผลของการจัดกิจกรรมประกอบอาหารที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย. การศึกษามหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: บริษัท ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์ จำกัด.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2543). หลักการตลาด. กรุงเทพมหานคร: ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
ศิวพร ชิมะโชติ. (2556). ความคาดหวัง การรับรูที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคร้านอาหารอีสานในศูนย์การค้าเซ็นทรัลของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุภาภัทร ดิลกไชยชาญวุฒิ. (2547). การเปรียบเทียบคุณค่าตราสินค้าระดับโลกและตราสินค้าท้องถิ่น.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสรี วงษ์มณฑา. (2540). ครบเครื่องเรื่องการสื่อสารการตลาด. กรุงเทพมหานคร: บริษัทวิสิทธ์พัฒนา จำกัด.
Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York: Free Press.
Beard (2014). ลำดับขั้นความคาดหวังของลูกค้า (Hierarchy of Customer Expectations). ค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2562 จาก https://www.coursehero.com/file/p1u4l91/Figure-3-The-Hierarchy-
of-Customer-Expectations-Source-Beard-2014-These-four/
Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. (3rd ed.). New York: John Wiley and Sons Inc.
Hawkins et al. (1998). A review of predictors of youth violence. In Serious and Violent Juvenile Offenders: Risk Factors and Successful Interventions, edited by R. Loeber and D.P. Farrington. Thousand Oaks, CA: Sage Publications.
Karntv. (2551). รายชื่อโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2551. ค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2560, จาก www.karn.tv.
Kotler, C. K. (2009). How reputation creates loyalty in the restaurant sector. International Journal of contemporary hospitality management. 25(4), 536-557.
Kotler, P. (2003). Marketing management. New Jersey: Prentice Hall, Upper Saddle River.
Kotler, P. & Keller, K. (2006). Marketing Management. (12th Ed.). Prentice Hall.
Maslow, A. (1970). Motivation and Personality. New York: Harper and Row Publishers.
Ward, S., Wackman, D. B., & Wartella, E. (1977). How Children Learn to Buy: The Development of Consumer Information Processing Skills. Beverly Hills, Ca.: Sage Publishing.
Zeithaml et al. (1996). The behavioral consequences of service quality. Journal of Marketing, 60 (2), 31–46.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-30