ศึกษาประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาในวัดภาคกลาง
คำสำคัญ:
ประติมากรรม, พระพุทธศาสนา, พระพุทธรูป, วัดภาคกลางบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาในวัดภาคกลาง และ2) ประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาในวัดภาคกลาง เป็นการวิจัยแบบคุณภาพ (Quality Research) โดยมีระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย 1) การศึกษาเอกสาร 2) การสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มประชากรผู้ให้ข้อมูลส าคัญจ านวน 15 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาในวัดภาคกลาง พบว่า ประติมากรรม เป็นงานศิลปะประเภทหนึ่งที่แสดงออกถึงวัฒนธรรม เป็นงานที่สร้างขึ้นเพื่อการสักการบูชาโดยเฉพาะในทางพุทธศาสนา ซึ่งประติมากรรมในประเทศไทยส่วนใหญ่ เน้นเนื้อหาทางศาสนา มักปรากฏอยู่ตามวัดและวัง มีขนาดตั้งแต่เล็กที่สุด แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ประติมากรรมลอยตัว (Round –Relief) 2. ประติมากรรมประเภทนูนสูง (High –Relief) 3. ประติมากรรมประเภทนูนต่ า (Bas –Relief) และแบ่งยุคสมัยของพระพุทธรูปมี 7 ยุคสมัย (1) พระพุทธรูปในยุคสมัยทวารวดี (2) พระพุทธรูปในยุคสมัยศรีวิชัยภาคใต้ (3) พระพุทธรูปในยุคสมัยเขมรหรือแบบลพบุรี (4) พระพุทธรูปในยุคสมัยสุโขทัย (5) พระพุทธรูปในยุคสมัยล้านนาหรือเชียงแสน (6) พระพุทธรูปในสมัยอยุธยา (7) พระพุทธรูปในยุคสมัยรัตนโกสินทร์ และ 2) ศึกษาประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาในวัดภาคกลาง พบว่า ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) และ หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง มีองค์ประกอบในการจัดการเรียนรู้ประติมากรรมทางพระพุทธศาสนาเถรวาท ประกอบด้วย 1. ความรู้ (Knowledge), 2. ทักษะ (Skill), 3. ความคิดเห็นหรือทัศนคติ (Attitude)
References
กรมศิลปากร. (2530). ตำนานวัตถุสถานต่าง ๆ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาและสมเด็จพระศรีสุลาลัย พระบรมราชชนนีพันปีหลวง. กรุงเทพมหานคร: กรมศิลปากร.
กำจร สุนพงษ์ศรี. (มปพ.). ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับประติมากรรม. กรุงเทพมหานคร: เจริญวิทย์การพิมพ์.
กุลชาดา โตโภชนพันธุ์. มยุรี ขวบสันเทียะ และสุทธิยา ปิ่นมณี. (2551). การสร้างแหล่งเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต: การหล่อพระ จังหวัดพิษณุโลก. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง. ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ไขศรี ศรีอรุณ. (2552). พระพุทธรูปปางต่าง ๆ ในสยามประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: มติชน.
จิรัฐกาล พงศ์ภคเธียร. (2553). จิตตปัญญาศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สวนเงินมีมา.
เชนชาคริต ยุรชิตภมรชัย. (2547). ปรัชญาศิลปะ พุทธศิลป์ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: หจก.
ป.สัมพันธ์พาณิชย์.
โชติ กัลยาณมิตร. (2539). สถาปัตยกรรมแบบไทยเดิม. สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูประถัมภ์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์.
โชติ กัลยาณมิตร. (2542). ช่างไทยต่อการสืบทอด. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม 4. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.
ปฏิพัทธ์ ทองพันธ์. (2547). การศึกษาปัญหาและอุปสรรค ของช่างหล่อพระพุทธรูป : กรณีศึกษา โรงงานหล่อพระบูรณะไทย ในจังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
พระยาอนุมานราชธน (เสถียร โกเศศ). (ม.ป.พ.). ชีวิตชาวไทยสมัยก่อนและการศึกษาเรื่องประเพณีไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์คลังวิทยา.
พัทยา สายหู. การศึกษาในวิถีชีวิตไทย. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย. (ภาคกลาง เล่ม 1). พิมพ์เนื่องในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนม์พรรษา 6 รอบ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.
พิริยะ ไกรฤกษ์. (2544). อารยธรรมไทย: พื้นฐานทางประวัติสาสตร์ศิลปะ เล่มที่ 1 ศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่ 14. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ราชบัณฑิตสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
วิบูลย์ ลี่สุวรรณ.(2542). ศิลปะสมัยใหม่และศิลปะร่วมสมัยในเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วุฒิชัย มูลศิลป์. (2529). เมื่อเริ่มการปฏิรูปการศึกษา สมัยรัชกาลที่ 5-7. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช.
ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์. (2552). สิ่งแวดล้อมและการเรียนรู้ สร้างสมองเด็กให้ฉลาดได้อย่างไร. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สงวน รอดบุญ. (ม.ป.พ.). ประติมากรรมตะวันตก. นครราชสีมา: วิทยาลัยครูนครราชสีมา.
สมพร ไชยภูมิธรรม. (2550). ปางพระพุทธรูป. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: ต้นธรรม.
สิริวัฒน์ คำวันสาร. (2523). พุทธศาสนาในอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: กรุงสยามการพิมพ์.
อารี สุทธิพันธุ์. (2549). ศิลปะนิยม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2546). ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว