บุพปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของ ผู้บริโภคร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • การัณฑา ประกายพรรณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

นวัตกรรมการจัดการ, การรับรู้คุณค่า, ห่วงโซ่คุณค่า, พฤติกรรมผู้บริโภค

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบุพปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในประเทศไทย รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แนวคิดพฤติกรรมผู้บริโภคเป็นกรอบการวิจัย พื้นที่วิจัย คือ ร้านค้าในธุรกิจที่เปิดดำเนินการในประเทศไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในประเทศไทย จำนวน 411 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบแบ่งตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐานสถิติอ้างอิง

ผลจากการวิจัย พบว่า นวัตกรรมการจัดการมีอิทธิพลทางตรงต่อการรับรู้คุณค่า ห่วงโซ่คุณค่ามีอิทธิพลทางตรงต่อการรับรู้คุณค่า การรับรู้คุณค่ามีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า นวัตกรรมการจัดการมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า และห่วงโซ่คุณค่ามีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า

References

กิตติศักดิ์ อังคะนาวิน. (2018). นวัตกรรมเทคโนโลยีที่มีผลต่อความสำเร็จพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้ประกอบธุรกิจอีคอมเมิร์ซในกลุ่มอุตสาหกรรมการค้าปลีกและการค้าส่ง. Journal of Business Administration The Association of Private Higher Education Institutions of Thailand, 7 (พิเศษ), 49-72.

จิรารัตน์ จันทวัชรากร (2018). ความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ของร้านค้าปลีกสินค้าอุปโภคบริโภคขนาด เล็กกับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภค: การศึกษาเปรียบเทียบร้านค้าปลีกดั้งเดิมกับร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ในประเทศไทย. Panyapiwat Journal, 10(3), 42-60.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2565). Repositioning Thailand’s Financial Sector for a Sustainable Digital Economy. กรุงเทพมหานคร: ธนาคารแห่งประเทศไทย. ค้นเมื่อ 6พฤษภาคม 2565, จาก https://www.bot.or.th/landscape/files/consultation-paper-en.pdf

Anwar, A., Thongpapanl, N., & Ashraf, A. R. (2021). Strategic imperatives of mobile commerce in developing countries: the influence of consumer innovativeness, ubiquity, perceived value, risk, and cost on usage. Journal of Strategic Marketing, 29(8), 722-742.

Budiarti, A. P., Engriani, Y., & Yasri, Y. (2019). Antecedents of Batik Tanah Liek Consumer Purchase Intention. In 2nd Padang International Conference on Education, Economics, Business and Accounting (PICEEBA-2 2018) (pp. 138-144). Atlantis Press.

Jitpleecheep, P. (2022, January 24). Taking retail to the next level, Innovation is the name of the game among companies seeking a competitive edge. Retrieved May 7, 2565, from https://www.bangkokpost.com/business/2252363/taking-retail-to-the-next-level

Kengpol, A., Pichitkarnkar, T., & Elfvengren, K. (2022). A Decision Support System for Consumer Behavior of Chinese In-bound Tourists on Functional Beverage: An Empirical Study during COVID-19 with Thailand Sandbox. Applied Science and Engineering Progress, 15(1), 1-11.

Leonidou, E., Christofi, M., Vrontis, D., & Thrassou, A. (2020). An integrative framework of stakeholder engagement for innovation management and entrepreneurship development. Journal of Business Research, 119, 245-258.

Taweelappontong, V. (2022). COVID-19 rapidly reshapes consumer behavior, PwC’s Strategy& says. Retrieved May 5, 2565, from https://www.pwc.com/th/en/press-room/press-release/2020/press-release-30-04-20-en.html

Moorhouse, N., Dieck, M., & Jung, T. (2018). Technological innovations transforming the consumer retail experience: A review of literature. In T. Jung, & M. tom Dieck. Springer, Cham. doi:10.1007/978-3-319-64027-3_10

Pantano, E., & Vannucci, V. (2019). Who is innovating? An exploratory research of digital technologies diffusion in retail industry. Journal of Retailing and Consumer Services, 49, 297-304.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31