การสร้างมูลค่าเพิ่มที่ส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนแปรรูป กลุ่มขนมนางเล็ดบ้านห้วย หมู่ที่ 3 ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ
คำสำคัญ:
การสร้างมูลค่า, วิสาหกิจชุมชน, ขนมนางเล็ดบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการสร้างมูลค่าเพิ่มของวิสาหกิจชุมชนบ้านห้วย หมู่ที่ 3 ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ เพื่อศึกษาระดับความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนบ้านห้วย หมู่ที่ 3 ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ และเพื่อศึกษาปัจจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ วิสาหกิจชุมชนแปรรูปกลุ่มขนมนางเล็ดบ้านห้วย หมู่ที่ 3 ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ สมาชิกวิสาหกิจชุมชนแปรรูปกลุ่มขนมนางเล็ดบ้านห้วย หมู่ 3 ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 158 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า การสร้างมูลค่าเพิ่มของวิสาหกิจชุมชนแปรรูปกลุ่มขนมนางเล็ดบ้านห้วยหมู่ที่ 3 ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ โดยรวมของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยรายด้านจากมากไปหาน้อย ซึ่งพบว่า กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับด้านบุคลากร มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านภาพลักษณ์ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบริการ และด้านความสามารถเชิงนวัตกรรม ตามลำดับ จากสมมติฐาน การสร้างมูลค่าเพิ่มส่งผลต่อความสำเร็จของวิสาหกิจชุมชนแปรรูปกลุ่มขนมนางเล็ดบ้านห้วยหมู่ที่ 3 ตำบลหนองโดน อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
References
กรมการพัฒนาชุมชน. (2550). แนวทางการดำเนินการงานโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ. ค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2556, จาก http://www3.cdd.go.th
จารุณี วงศ์ลิมปิยะรัตน์. (2558). เรียนรู้กลยุทธ์เทคโนโลยีจากกรณีศึกษา แนวคิดและการประยุกต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เพ็ญจันทร์ ตันติวิมลขจร. (2555). ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม: กรณีศึกษาเขตพื้นที่ภาษีเจริญกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ยุทธชัย ฮารีบิน, สมนึกเอื้อ จิระพงษ์พันธ์ และสุนันทา เสียงไทย. (2559). ความสามารถด้านเครือข่ายและความสามารถเชิงนวัตกรรม ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารนักบริหาร,36(2),79-88.
ศรินทิพย์ ภัสดาวงศ์. (2548). ปัจจัยความสำเร็จในธุรกิจประเภทสินค้าของขวัญและของประดับตกแต่งบ้าน(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศิริญา ตังนฤมิตร. (2558). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสำเร็จของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. (2541). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์.
สาคร คันธโชติ. (2547). การออกแบบผลิตภัณฑ์งานไม้. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ, ฝ่ายส่งเสริมวัฒนธรรมนวัตกรรม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2553). การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.
สุรชัย โฆษิตบวรชัย. (2553). สร้างสรรค์คุณค่า “Value Creation” บทสรุปของความสำเร็จยุคใหม่จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ. ค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2554, จาก www.okmd.or.th
Akova, B.,Ulusoy,G.,Payzın,E.,Kaylan,A.R. (1998). New product development capabilities of the Turkish electronics industry. In: Proceedings of the Fifth International Product Development Management Conference, Como, Italy, pp. 863–876.
Ericson, G.S ., and MoCall, M. (2012). Using Intellectual Capital to Enhance Performance in the Hospitality Industry. Advances in Competitiveness Research. 20(1/2), 58-66.
Gallouj, F., & Weinstein, O. (1997). Innovation in services. Research Policy, 26, 537-556.
George, M., Work, J., & Watson, H. K. (2005). Fast innovation: Achieving superior differentiation, speed to market, and increased profitability. New York: McGraw-Hill.
Gustafsson, A., Kristensson, P. & Witell, L. (2012). Customer co-creation in service innovation: a matter of communication. Journal of Service Management, 23(3), 311-327.
Lee, Y.-C., & Chen, J.-K. (2009). A new service development integrated model. The Service Industries Journal, 29(12), 1669-1686.
Lin, C. Y., & Cheng, M. Y. (2007). Does innovation lead to performance? An empirical study of SMEs in Taiwan. Management Research News, 30(2), 115-132.
Michel, S., Brown, S. W., & Gallan, A. S. (2007). An expanded and strategic view of discontinuous innovations: deploying a service-dominant logic. Journal of the Academy of Marketing Science, 36(1), 54-66.
OECD. (2005). Oslo Manual: Proposed Guidelines for Collecting and Interpreting Technological Innovation Data. Paris.
Ployhart, R.E., and Moilterno, T.P. (2011). Emergence of the Human Capital Resource: a Multilevel Model. Academy of Management Review, 36(1), 127-150.
Regan, N. O., & Ghobadian, A. (2004). Innovation in SMEs: The impact of strategic orientation and environmental perceptions. International Journal of Productivity and Performance Management, 54(2), 81-97.
Salunke, S., Weerawardena, J., & McColl-Kennedy, J. R. (2011). Towards a model of dynamic capabilities in innovation-based competitive strategy: Insights from project-oriented service firms. Industrial Marketing Management, 40(8), 1251- 1263.
Schilling, M. A. (2008). Strategic management of technological innovation (2nd ed.). New York: McGraw-Hill Education.
Shu, C., Zhou, K. Z., Xiao, Y., & Gao, S. (2014). How Green Management Influences Product Innovation in China: The Role of Institutional Benefits. Journal of Business Ethics, 133(3), 471-485.
Smits, R. (2002). Innovation studies in the 21th century: Questions from a user’s perspective. Technological Forecasting & Social Change, 69, 861-883.
Weiss, P. (2003). Adoption of product and process innovations in differentiated markets: The impact of competition. Review of Industrial Organization, 23(3), 301-314.
Wolf, J. and T. Pett. (2006). Small-firm Performance: Modelling the Role of Product and Process Improvements. Journal of Small Business Management, 44, 268-284.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว