อุดมศึกษาไทยกับก้าวใหม่สู่การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก
คำสำคัญ:
อุดมศึกษาไทย, การจัดอันดับมหาวิทยาลัย, เกณฑ์การจัดอันดับบทคัดย่อ
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลกเข้ามามีบทบาทกับอุดมศึกษาไทยมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เพราะเป็นปัจจัยที่ส่งเสริมการขยายโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถเข้าถึงผู้เรียน ผู้ปกครอง นักวิชาการ นักวิจัย ความร่วมมือ และแหล่งทุนในระดับสากล ขณะเดียวกัน การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก
เป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการและการตัดสินใจการขับเคลื่อนนโยบายระดับสถาบันไปถึงระดับประเทศที่เกี่ยวข้อง แต่ปรากฎการณ์ ดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้กระแสต่อต้านที่มีมายาวนาน และข้อกังขาของสังคมที่มีต่อความเที่ยงตรงและความน่าเชื่อถือของเกณฑ์การจัดอันดับมหาวิทยาลัย ความคุ้มค่าคุ้มทุนในการลงมือลงแรง และความได้เปรียบและเสียเปรียบเชิงการแข่งขัน โดยบทความฉบับนี้มุ่งหาจุดร่วมระหว่างมุมมองที่ขัดแย้งกันในสังคมที่มีต่อการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก และนำเสนอ 6 แนวทางได้แก่ 1) การศึกษาลักษณะของเกณฑ์การประเมินของหน่วยงานจัดอันดับแต่ละแห่ง 2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3) การเร่งผลิตผลงานทางวิชาการ 4) การจัดตั้งหน่วยงานขับเคลื่อนการดำเนินงาน 5) การมีระบบจัดเก็บข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และ
6) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการปรับปรุงพัฒนา สำหรับสถาบันอุดมศึกษาไทย เพื่อการก้าวสู่การจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยระดับโลก
References
จรูญ จันทลักขณา. (2563). อ่านมาเล่า “Rankings not be – all, end – all for Thai unis”. วารสาร วิชาการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์, 2(4), 72-74.
พงศักดิ์ รุ่งสง. (2564). สถาบันสร้างสรรค์และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต. ในรายงานการประชุม แผนปฏิบัติการด้านการขับเคลื่อนความสัมพันธ์กับเครือข่าย ระยะ 5 ปี (2560-2564) และประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564, วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2563, ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพ, หน้า 7-12.
พิมพ์แพร ศรีสวัสดิ์. (2563). การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติและกลยุทธ์การปรับตัวของมหาวิทยาลัยไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 15(2), 1-12.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2562). เกณฑ์การให้คะแนน: เครื่องมือสำหรับครูเพื่อประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เที่ยงและยุติธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 12(1), 1-16.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2560). นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ. (พิมพ์ครั้งที่ 29). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย. (2544). การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยของประเทศในเอเชียปี 2540-2542. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 14(3), 335-350.
สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม. (2561). แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สุวัฒน์ ศิรินิรันดร์. (2552). MBA handbook. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: ซี แอนด์ เอ็น.
ไพลิน กิตติเสรีชัย. (2565). โลกาภิิบาลมาตรฐานการศึึกษา: กรณีีศึึกษาการจััดอัันดับมหาวิิทยาลัยระดับโลก. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18(2), 231-277.
Academic Ranking of World University. (2023). 2022 Academic ranking of world universities. Retrieved on March 3, 2023, from https://www.shanghairanking.com/rankings/arwu/ 2022
Bengoetxea, E. & Buela-Casal, G. (2013). The new multidimensional and user-driven higher education ranking concept of the European Union. International Journal of Clinical and Health Psychology, 13(1), 67−73.
Dunn, W. N. (2018). Policy analysis: An integrated approach. (6th ed.). New York: Third Avenue.
Gronlund, N. E.; & Linn, R. L. (1990). Measurement and Evaluation in Teaching. (6th ed.). New York: Macmillan.
Hazelkorn, E., Loukkola, T. & Zhang, T. (2014). Rankings in institutional strategies and processes: impact or illusion?. European University Association.
Jajo, N. & Harrison, J. (2014). World university ranking systems: an alternative approach using partial least squares path modelling. Journal of Higher Education Policy and Management, 36(5), 471-482.
Lumby. J. & Fskett, N. (2016). Internationalization and Culture in higher education. Educational Management Administration & Leadership, 44(1), 1-17.
Laura, L. (2023). QS World University Rankings methodology: using rankings to start your university search. Retrieved on March 5, 2023, from https://www.topuniversities.com/ qs-world-university-rankings/methodology
Pavel, A. (2015). Global university ranking-a comparative analysis. Procedia Economics and Finance, 26, 54-63
Porter, M. E. (1980). Competitive Strategy: Techniques for Analyzing Industries and Competitions. New York: Free Press.
Pandey, P., & Pandey, M. M. (2015). Research methodology: tools and techniques. Romania: Bridge Center.
QS Top Universities. (2023). University Rankings. Retrieved on February 15, 2023, from https://www.topuniversities.com/university-rankings?qs_qp=topnav
Rhein, D. & Nanni, A. (2023). The impact of global university rankings on universities in Thailand: don’t hate the player, hate the game. Globalisation, Society and Education, 21(1), 55-65.
Sharma, R. C. (2005). Open learning in India: Evolution, diversification and reaching out. pen Learning, 20(3), 227–241.
Times Higher Education. (2023). World university rankings. Retrieved on February 15, 2023, from https://www.timeshighereducation.com/world-university-rankings
Viennet, R., & Pont, B. (2017). Education policy implementation: A literature review and proposed framework OECD. Education Working Paper No. 162.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว