รูปแบบนวัตกรรมบริการเชิงสร้างสรรค์การท่องเที่ยวชุมชนโดยเชื่อมโยงอัตลักษณ์ท้องถิ่นของกลุ่มจังหวัด “นคราธานี”

ผู้แต่ง

  • ธีรารัตน์ อำนาจเจริญ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดอุดรธานี
  • ณัฏฐชัย เอกนราจินดาวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดอุดรธานี
  • ศุภกานต์ โสภาพร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดอุดรธานี

คำสำคัญ:

นวัตกรรมบริการเชิงสร้างสรรค์, การท่องเที่ยวชุมชน, อัตลักษณ์, นคราธานี

บทคัดย่อ

ธานี” 2) เพื่อศึกษาความต้องการ ความคาดหวังและประสบการณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัด “นคราธานี” และบริบทใกล้เคียง และ 3) เพื่อพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวทางเลือกโดยเชื่อมโยงอัตลักษณ์ท้องถิ่นของกลุ่มจังหวัด “นคราธานี” รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมบริการสร้างสรรค์ มาตรฐานความปกติใหม่ การท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวสีเขียว พื้นที่วิจัยหลัก คือ ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดอุดรธานี การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานจังหวัดอุดรธานี ผู้แทนชุมชนท้องถิ่น และผู้ประกอบการ สมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดอุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ นักท่องเที่ยวในกลุ่ม นคราธานี กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 12 คน นักท่องเที่ยวจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยโดยการใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก

ผลการวิจัยพบว่า การนำองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยและนวัตกรรมไปสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมภายในกลุ่มจังหวัดวิจัยที่ดีขึ้นและยั่งยืนอย่างสร้างสรรค์ และเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชนจังหวัดในพื้นที่วิจัยให้ดีขึ้นและนำไปสู่ความยั่งยืน รวมถึงการผลักดันไปสู่นโยบายที่ก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้างเกิดชุมชนรูปแบบใหม่ที่เป็นต้นแบบให้ชุมชนและจังหวัดในบริบทใกล้เคียง องค์ความรู้ให้กลายเป็นนวัตกรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่การเป็นชุมชมสร้างสรรค์และร่วมรับผิดชอบ

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). สถิติด้านการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2551). การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุราษฎร์ธานี: การวิจัยฐานทรัพยากรเกษตรสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

วรพงศ์ ผูกภู่. (2564). การพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs). กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.

Chen, C. F., & Chen, F. S. (2010). Experience quality, perceived value, satisfaction and behavioral intentions for heritage tourists. Tourism Management, 31(1), 29-35.

Huber, G. P. (1991). Organizational learning: The contributing processes and the literatures. Organization Science, 2(1), 88–115.

Leekpai, P. (2014). Innovativeness of Hotel Business in Southern Thailand. Journal of Management Sciences, 31(1), 69-95.

Mossberg, L. (2007). A Marketing Approach to the Tourist Experience. Scandinavian Journal of Hospitality and Tourism, 7(1), 59-74.

Narver, J. C., & Slater, S. F. (1990). The effect of a market orientation on business profitability. Journal of Marketing, 54(4), 20–35.

Prayag, G., Hosany, S., & Odeh, K. (2013). The role of tourists' emotional experiences and satisfaction in understanding behavioral intentions. Journal of Destination Marketing & Management, 2(2), 118-127.

Richards, R. (2007). Everyday creativity: Our hidden potential. In R. Richards (Ed.), Everyday creativity and new views of human nature: Psychological, social, and spiritual perspectives (pp. 25–53). American Psychological Association.

Rutherford, M. W. & Holt, D. T. (2007). Corporate entrepreneurship: An empirical look at the innovativeness dimension and its antecedents. Journal of Organizational Change Management, 20(3), 429–446.

Su, R., Bramwell, B.& Whalley, P. A. (2018). Cultural political economy and urban heritage tourism. Annals of Tourism Research, 68 (January), 30-40.

UNESCO. (2020). Global Education Monitoring Report Team. UNESCO.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31