การพัฒนาแนวทางชุดการท่องเที่ยวเรื่องเล่าเชิงสร้างสรรค์ ชุมชนท่าสาป จังหวัดยะลา
คำสำคัญ:
การพัฒนาแนวทาง, .การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์, เรื่องเล่าชุมชนบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาแนวทางชุดการท่องเที่ยวเรื่องเล่าเชิงสร้างสรรค์ โดยใช้พื้นที่ศึกษาคือชุมชนท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ใช้เทคนิคการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) กับกลุ่มชุมชนในปฏิบัติการวิจัยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 ท่าน โดยใช้เครื่องมือแบบสัมภาษณ์ การประชุมกลุ่มเชิงสร้างสรรค์ (AIC) และแบบบันทึกภาคสนาม (Field Note) ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์และแนวคิดที่นำมาใช้ทั้งแนวคิดเรื่องเล่า และแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จากนั้นนำข้อมูลมาจัดเป็นระบบและการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) และนำเสนอข้อมูลแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) ผลการศึกษาพบ 2 มิติ ดังนี้มิติที่หนึ่ง การสำรวจกิจกรรมการท่องเที่ยวผ่านเรื่องเล่าชุมชนเพื่อจัดหมวดหมู่ การวางแผน ออกแบบกิจกรรมแก้ไขและทำการยืนยันผลของข้อมูลจนได้ข้อสรุปจัดทำเรื่องเล่าชุมชน ตามแผนดำเนินการ มิติที่สอง การพัฒนาการเล่าเรื่องชุมชนเป็นชุดเครื่องมือภายใต้แนวคิด Thasap: Storytelling Towards Creative Tourism Management สามารถนำเรื่องราวของชุมชน มาออกแบบเรื่องเล่าเชิงสร้างสรรค์ นวัตกรรมให้นักท่องเที่ยวได้รู้จักวิถีชุมชนมากยิ่งขึ้นนำมาจัดเป็นโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ออกแบบผ่านเครื่องมือ 3 ชิ้น ได้แก่ 1) เส้นทาง (Route) การท่องเที่ยวในชุมชนประกอบด้วยสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ จุดเด่น และสถานที่ของชุมชน การท่องเที่ยว 2) สื่อ (Alphabet Creative Tourism) ทางวัฒนธรรมในรูปแบบตัวอักษรเรื่องเล่า เรื่องราวของชุมชนท่าสาป และ 3) โปรแกรม (Travel Program) การท่องเที่ยวครึ่งวัน (Half day) และแบบเต็มวัน (One day) เป็นการเพิ่มโครงสร้างกิจกรรมในพื้นที่ ตอบโจทย์และสามารถหนุนเสริมเรื่องนโยบาย เศรษฐกิจ มุมมองมิติใหม่ให้กับนักท่องเที่ยวเพื่อการเข้ามาเพื่อเรียนรู้วิถีคุณค่าของชุมชน
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนปฏิบัติการประจำปี 2566. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา.
กัญญารินทร์ ไชยจันทร์. (2566). พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในย่านเมืองเก่าบางลำพู บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 11(2), 157-178.
จริยา สุพรรณ. (2565). แนวทางการใช้เรื่องเล่าท้องถิ่นสื่อความหมายในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จังหวัดชัยนาท จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดลพบุรี. วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน, 13(2), 250-279.
ฉัตรธิดา หยูคง. (2566). การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน อําเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 16(2), 13-24.
ธนาวดี ปิ่นประชานันท์. (2564). การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์อูรักลาโวยจในพื้นที่เกาะลันตาจังหวัดกระบี่ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปานรดา วรรณประภา และสุนทร วรหาร. (2567). ความเชื่อ เรื่องเล่า ประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวชายแดนไทย-ลาว ในจังหวัดอุบลราชธานี: การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าการท่องเที่ยว. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 12(3), 918-931.
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์. (2558). องค์ความรู้ว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: คู่มือและแนวทางปฏิบัติ.
กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://socanth.tu.ac.th/wpcontent/uploads/2017/08/suddan-2558.pdf
สุภัทรา สังข์ทอง และคณะ. (2564). การศึกษากิจกรรมเพื่อพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ตำบลเขาคราม อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 17(1), 24-46.
สุรพัสตร์ ภัทรานนท์อุทัย. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างเรื่องเล่าของ Let’s & Go และกลุ่มคนไทยที่เล่นรถ Tamiya Mini 4WD (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
องค์ บรรจุน. (2567). การสร้างเรื่องเล่าเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารชุมชนมอญทองผาภูมิ. วารสารไทยคดีศึกษา, 21(1), 247-292.
Brundtland, G. (1987). Our common future: The world commission on environment and development. Oxford, England: Oxford University Press.
Cherryholmes, C. H. (1992). Notes on pragmatism and scientific realism. Educational Researcher, 21(6), 13-17.
Clandinin, D. J., & Connelly, F. M. (2000). Narrative Inquiry: Experience and Story in Qualitative Research. San Francisco, CA: Jossey-Bass Publishers.
Cohen, L., Manion, L., & Morrion, K. (2000). Research Methods in Education (5th ed.). New York: The Taylor and Francis Groups.
Currie, M. (2010). Postmodern narrative theory. London: Macmillan Education.
Murphy, P.E. (1988). Community driven tourism planning. Tourism Management, 9(2), 96-104.
Neuman, W.L. (2000). Social research methods qualitative and quantitative approaches. 4th Edition, Allyn & Bacon, Needham Heights.
Patton, M. Q. (1990). Qualitative evaluation and research methods. Second Edition. Newbury Park, CA: Sage.
Pickering, A. (1993). The mangle of practice: Agency and emergence in the sociology od science. American journal of sociology, 99(3), 559-589.
Richards, G. (2020). Designing creative places: The role of creative tourism. Annals of Tourism Research, 85, 102922.
Tashakkori, A., & Creswell, J. W. (2007). Exploring the nature of research questions in mixed methods research. Editorial. Journal of Mixed Methods Research, 1(3), 207-211.
Balamans, T. M. A. (1979). Strategic planning for research and development. Long Range Planning, 12(2), 33-44.
UNESCO. (2008). Education for All Global Monitoring Report 2009. Paris: UNESCO.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว