การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สุขภาวะสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผู้แต่ง

  • สงกรานต์ อนุสุเรนทร์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
  • พิมพ์อร สดเอี่ยม สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
  • กรรณิกา ไวโสภา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง

คำสำคัญ:

การพัฒนาตัวบ่งชี้, ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง, โรงเรียนสุขภาวะ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสุขภาวะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รูปแบบการวิจัยเป็นแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ได้แก่ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารและครูในโรงเรียนสุขภาวะ จำนวน 668 โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ชนิด คือ 1) แบบสอบถาม 2) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ใช้วิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน

ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสุขภาวะมี 5 องค์ประกอบย่อย 17 ตัวบ่งชี้ โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์

References

กัมพล เจริญรักษ์. (2560). รูปแบบการพัฒนาสุขภาวะในโรงเรียนประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

ชัชวาลย์ สิงหาทอง. (2561). รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือทางการศึกษา. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์,1(3), 1-12.

ชำนาญ คำปัญโญสีโนทัย. (2559). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในฝัน: พหุกรณีศึกษา (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.

ฐิตินันท์ นันทะศรี. (2563). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.

พันธ์ทิภา สร้างช้าง. (2558). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงสำหรับ ผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

มิญช์มนัส วรรณมหินทร์ สลางสิงห์. (2564). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะในโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา (วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วรรณปกรณ์ สุดตะนา. (2556). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการจัดการศึกษาของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดนครราชสีมา (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). คู่มือการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ OBEC AWARDS เล่ม 2. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. (2564). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. พิมพ์ครั้งที่ 4.กรุงเทพฯ: สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.

สุริยา สรวงศิริ. (2564). องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 22 วันที่ 25 มีนาคม 2564 มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (หน้า 912-921).

สุวิมล ติรกานันท์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Bass, B.M. & Avolio, B.J. (1994). Improving Organization Effectiveness Through Transformational Leadership. Thousand Oak: Sage.

Bennis, W. & Nanus, B. (1987). Leaders: The Strategies for Taking Charge. New York: Harper Xollins Publishers.

Burns, J.M. (1978). Leadership. New York: Harper and Row.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York: Harper Collins.

Flavia, C., Valter, M. & Mateus, H., (2012). Effects of Leader Intelligence, Personality and Emotional Intelligence on Transformational Leadership and Managerial Performance. The Leadership Quarterly, 23, 443–455.

George, W., et al. (2007). Discovering your authentic leadership. Harvard Business Review, 85(2), 129–138.

Hair, J. F., et al. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Kotter, J. P., & Cohen. (2002). The heart of change: Real-life stories of how people change their organizations. Boston: Harvard Business School.

Lindegaard, S. (2009). The Open Innovetion Revolution: Essentials, Roadblocks and Leadership Skills. New Jersey: John Wiley.

Muchinsky, P. M. (1997). Phychology Applied to Work: An Introductions to Industrialand Organizational Phychology (5th ed.). Clifornia: Books/Cole.

Schultz, D.P. and Schultz, S.E. (1998). Psychology and Work Today: An introduction Industrial and Organizational Psychology. New Jersey: Prentice-hall, Inc.

Volk, A. (2012). A leadership competency profile for innovation leaders in a science-based research and innovation organization in South Africa. Retrieved May 13, 2023, from https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S1877042812009056

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-11-26