นโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางเลือกในพื้นที่ภาคตะวันออก พ.ศ. 2544-2566

ผู้แต่ง

  • กฤษดา กฤตเมธานนท์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • สุรพล ราชภัณฑารักษ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ศุภชัย ศุภผล คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • จักรี ไชยพินิจ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

นโยบายของรัฐ, การส่งเสริมการท่องเที่ยว, การท่องเที่ยวทางเลือก

บทคัดย่อ

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบตัวแสดงการท่องเที่ยวทางเลือกและศักยภาพของการท่องเที่ยวในพื้นที่ภาคตะวันออก พ.ศ. 2544- 2566 2) นโยบายของรัฐที่มีบทบาทในการผลักดันการท่องเที่ยวใน ภาคตะวันออกตั้งแต่ พ.ศ. 2544-2566 และ 3) ข้อจำกัดและแนวทางการยกระดับการท่องเที่ยวทางเลือกในภาคตะวันออก ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ

        ผลการวิจัยพบว่า

1) ตัวแสดงการท่องเที่ยวทางเลือกและศักยภาพในพื้นที่ภาคตะวันออก แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ (1) รูปแบบการท่องเที่ยวทางเลือกมี 9 รูปแบบ (2) การท่องเที่ยวทางเลือกในภาคตะวันออก มี 8 จังหวัด (3) ตัวแสดงในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว มีองค์กรรัฐที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว 14 องค์กร และองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้อง 7 องค์กร (4) การบูรณาการตัวแสดงภาครัฐและเอกชนสู่การนำนโยบายไปปฏิบัติ ภาครัฐก็มีการบูรณาการกับเอกชนและภาคประชาชนร่วมกันบริหารจัดการสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพผลักดันนโยบายให้ประสบความสำเร็จ ที่เกิดขึ้นในการร่วมมือหรือการบูรณาการ ระหว่าง 3 ภาคส่วนหน่วยงาน คือ ภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชน  2) นโยบายของรัฐ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ (1) นโยบายของรัฐในมาตรการทางด้านกฎหมาย ซึ่ง พบว่ามีการนนำนโยบายมาปฏิบัติจากแผนพัฒนาเพื่อให้เกิดการผลักดันนโยบายได้ดีมากยิ่งขึ้น และ (2) นโยบายของรัฐในมาตรการสถาบัน  3) ข้อจำกัดและแนวทางการยกระดับ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ 1. ข้อจำกัดของการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางเลือกในภาคตะวันออก ภาพรวมพบว่าข้อจำกัดต่างๆ เกิดจากความต้องการของตลาดแรงงาน แผนงานการสร้างความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยว มุ่งเน้นการเสริมสร้างภาพลักษณ์คุณภาพและความปลอดภัยให้กับการท่องเที่ยวทางเลือก 2. แนวทางการยกระดับ

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2559). ยุทธศาสตร์กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พ.ศ. 2560-2564 ฉบับ

ที่ 4 (2560 – 2564). กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

จินดา สวัสดิ์ทวี และนวลจันทร์ พู่พัฒนศิลป์. (2562). ประเมินผลกระทบทางสุขภาพเพื่อจัดทำยุทธศาสตร์การ

ท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านสามช่องเหนือ ต กะไหล อ ตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา. สถาบันนโยบายสาธารณะ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

จริยา ตันติวราชัย และพัทธนันท์ มั่งมี. (2561). ปัจจัยความพึงพอใจที่มีผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทย

ที่เดินทางมาเที่ยวตลาดคลองสวน 100 ปี ตำบลคลองสวน อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

ชิดชนก ศรีเมือง. (2561). พฤติกรรมและความคาดหวังของนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวทางทะเลภาค

ตะวันออก. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ,

(2), 25-46.

ทิพาพร พิมพิสุทธิ์. (2558). การวิเคราะห์นโยบาย PS 6301. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พัทธมน ภมรานนท์. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของ

นักท่องเที่ยวชาวไทย ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต),

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย. (2561). การท่องเที่ยวกับเศรษฐกิจไทย. ค้นเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2566, จาก

https://www.the101.world/tourism-and-thai-economy/

มัสลิน วุฒิสินธ. (2560). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวทางเลือกแบบผสมผสานในชุมชน: กรณีศึกษาชุมชน

ตำบลท่าข้าม จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 11(2), 439-450.

วดี วรรณา และดวงกมล ยางงาม. (2563). การนำนโยบายการท่องเที่ยวเมืองรองไปปฏิบัติ กรณีศึกษา: การ

ท่องเที่ยวชมวิถีชีวิตชนบท จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคมศาสตร์รำไพพรรณี, 1(1),

-29.

วรเดช จันทรศร. (2565). ทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สมาคมนักวิจัยแห่งประเทศ

ไทย.

สุชาติ อินกล่ำ. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โดยชุมชน กรณีศึกษาชุมชนหยงสตาร์ ตำบลท่า

ข้าม อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง. โครงการวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

สัญญา เคณาภูมิ. (2557). รายงานวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับวิถีความเป็น

ประชาธิปไตยของชุมชนตำบลโคกพระ ตำบลมะค่า และตำบลกุดใส้จ่อ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด

มหาสารคาม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สัญญา เคณาภูมิ. (2559). การกำหนดนโยบายสาธารณะทฤษฎีและกระบวนการ. วารสารมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 7(2), 101-126.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2561). แผนปฏิบัติการการพัฒนาและ

ส่งเสริมการท่องเที่ยวในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. กรุงเทพฯ: EEC.

อิศรากร พัลวัลย์. (2564). พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์อย่างยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร:

กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).

Kotler, P. (1997) Marketing Management: Analysis, Planning, Implementation, and Control.

(9th ed.). Prentice Hall, Upper Saddle River.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-31

How to Cite

กฤตเมธานนท์ ก., ราชภัณฑารักษ์ ส. ., ศุภผล ศ. ., & ไชยพินิจ จ. . (2025). นโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางเลือกในพื้นที่ภาคตะวันออก พ.ศ. 2544-2566. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 15(1), 228–243. สืบค้น จาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/JDAR/article/view/279743