มลายูญาวี การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข

การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข

Authors

  • คอลิด สนิ คณะอิสลสมศึกษา

Keywords:

การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข คอลิด สนิ*, อับดุลฮาลิม ไซซิง** *นักศึกษาระดับปริญญาเอก คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี **ดร. (ชะรีอะฮฺ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์, อาจารย์ประจำสาขาวิชาชะรีอะฮฺ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี บทคัดย่อ ซะกาตเป็นหนึ่งในหลักการอิสลามที่ประชาชาติมุสลิมต้องปฏิบัติ ซึ่งมีหลักฐานการบัญญัติที่ชัดเจนเด็ดขาด และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนั้นการจัดการซะกาตที่มีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน โดยเฉพาะในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ บทวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาต และเน้นถึงปัญหาและอุปสรรคที่ฝ่ายดูแลจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามของสามจัดหวัดชายแดนภาคใต้กำลังประสบ พร้อมกับการเสนอแนวทางแก้ไข โดยใช้แหล่งข้อมูลปฐมภูมิหลัก 2 แหล่งคือ การศึกษาค้นคว้าเอกสารจากห้องสมุดและการเก็บข้อมูลภาคสนาม ประชากรในการวิจัยมีทั้งหมดหมด 66 คนจากสำนักงานคณะกรรมการอิสลามสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เจ้าหน้าที่รวบรวมซะกาตที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการอิสลาม ผู้จ่ายซะกาต ผู้รับซะกาต และประชาชนทั่วไป ข้อมูลที่ได้รวบรวมจะถูกวิเคราะห์โดยใช้วิธีการนิรนัย อุปนัย และการสังเกตการ จากผลการวิจัยโดยเครื่องมือที่ใช้ปรากฏว่ามีปัญหาและอุปสรรคสี่ประการในการจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หนึ่งคืออุปสรรคในด้านการบริหารจัดการซะกาต สองอุปสรรคในด้านการจัดเก็บซะกาต สามอุปสรรคในด้านการแจกจ่ายซะกาต และสี่อุปสรรคในด้านการให้ความร่วมมือของประชาชน นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้ให้ข้อเสนอแนะและวิธีแก้ปัญหาดังนี้ หนึ่ง แนะนำให้จัดสัมมนาเกี่ยวกับซะกาต สอง เตรียมบทเรียนและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับซะกาตแก่สังคมมุสลิม สาม ทำทะเบียนจำนวนประชากรสังคมมุสลิม สี่ ทำวิจัยเกี่ยวกับการจัดการซะกาต ห้า ร่างกฎและนโยบายซะกาต หก เผยแพร่บทบาทของสถาบันซะกาต เจ็ด สร้างความมั่นใจและความเชื่อถือต่อสถาบันซะกาต แปด แลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันซะกาตที่ประสบความสำเร็จ และเก้า ดำเนินโครงการการลงทุนทรัพย์สมบัติซะกาต

Abstract

การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข

คอลิด สนิ*, อับดุลฮาลิม ไซซิง**

*นักศึกษาระดับปริญญาเอก คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

**ดร.  (ชะรีอะฮฺ)  ผู้ช่วยศาสตราจารย์, อาจารย์ประจำสาขาวิชาชะรีอะฮฺ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

บทคัดย่อ

ซะกาตเป็นหนึ่งในหลักการอิสลามที่ประชาชาติมุสลิมต้องปฏิบัติ ซึ่งมีหลักฐานการบัญญัติที่ชัดเจนเด็ดขาด และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนั้นการจัดการซะกาตที่มีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน โดยเฉพาะในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ บทวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาต และเน้นถึงปัญหาและอุปสรรคที่ฝ่ายดูแลจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามของสามจัดหวัดชายแดนภาคใต้กำลังประสบ พร้อมกับการเสนอแนวทางแก้ไข โดยใช้แหล่งข้อมูลปฐมภูมิหลัก 2 แหล่งคือ การศึกษาค้นคว้าเอกสารจากห้องสมุดและการเก็บข้อมูลภาคสนาม ประชากรในการวิจัยมีทั้งหมดหมด 66 คนจากสำนักงานคณะกรรมการอิสลามสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เจ้าหน้าที่รวบรวมซะกาตที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการอิสลาม ผู้จ่ายซะกาต ผู้รับซะกาต และประชาชนทั่วไป ข้อมูลที่ได้รวบรวมจะถูกวิเคราะห์โดยใช้วิธีการนิรนัย อุปนัย และการสังเกตการ

          จากผลการวิจัยโดยเครื่องมือที่ใช้ปรากฏว่ามีปัญหาและอุปสรรคสี่ประการในการจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หนึ่งคืออุปสรรคในด้านการบริหารจัดการซะกาต สองอุปสรรคในด้านการจัดเก็บซะกาต สามอุปสรรคในด้านการแจกจ่ายซะกาต และสี่อุปสรรคในด้านการให้ความร่วมมือของประชาชน นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้ให้ข้อเสนอแนะและวิธีแก้ปัญหาดังนี้ หนึ่ง แนะนำให้จัดสัมมนาเกี่ยวกับซะกาต สอง เตรียมบทเรียนและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับซะกาตแก่สังคมมุสลิม สาม ทำทะเบียนจำนวนประชากรสังคมมุสลิม สี่ ทำวิจัยเกี่ยวกับการจัดการซะกาต ห้า ร่างกฎและนโยบายซะกาต หก เผยแพร่บทบาทของสถาบันซะกาต เจ็ด สร้างความมั่นใจและความเชื่อถือต่อสถาบันซะกาต แปด แลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันซะกาตที่ประสบความสำเร็จ และเก้า ดำเนินโครงการการลงทุนทรัพย์สมบัติซะกาต  

References

การจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย ปัญหา อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข
คอลิด สนิ*, อับดุลฮาลิม ไซซิง**
*นักศึกษาระดับปริญญาเอก คณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ สาขาวิชาอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
**ดร. (ชะรีอะฮฺ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์, อาจารย์ประจำสาขาวิชาชะรีอะฮฺ คณะอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
บทคัดย่อ
ซะกาตเป็นหนึ่งในหลักการอิสลามที่ประชาชาติมุสลิมต้องปฏิบัติ ซึ่งมีหลักฐานการบัญญัติที่ชัดเจนเด็ดขาด และยังเป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนั้นการจัดการซะกาตที่มีประสิทธิภาพมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน โดยเฉพาะในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ บทวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาต และเน้นถึงปัญหาและอุปสรรคที่ฝ่ายดูแลจัดการซะกาตของคณะกรรมการอิสลามของสามจัดหวัดชายแดนภาคใต้กำลังประสบ พร้อมกับการเสนอแนวทางแก้ไข โดยใช้แหล่งข้อมูลปฐมภูมิหลัก 2 แหล่งคือ การศึกษาค้นคว้าเอกสารจากห้องสมุดและการเก็บข้อมูลภาคสนาม ประชากรในการวิจัยมีทั้งหมดหมด 66 คนจากสำนักงานคณะกรรมการอิสลามสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เจ้าหน้าที่รวบรวมซะกาตที่ได้รับการแต่งตั้งโดยคณะกรรมการอิสลาม ผู้จ่ายซะกาต ผู้รับซะกาต และประชาชนทั่วไป ข้อมูลที่ได้รวบรวมจะถูกวิเคราะห์โดยใช้วิธีการนิรนัย อุปนัย และการสังเกตการ
จากผลการวิจัยโดยเครื่องมือที่ใช้ปรากฏว่ามีปัญหาและอุปสรรคสี่ประการในการจัดเก็บและแจกจ่ายซะกาตของคณะกรรมการอิสลามของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หนึ่งคืออุปสรรคในด้านการบริหารจัดการซะกาต สองอุปสรรคในด้านการจัดเก็บซะกาต สามอุปสรรคในด้านการแจกจ่ายซะกาต และสี่อุปสรรคในด้านการให้ความร่วมมือของประชาชน นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้ให้ข้อเสนอแนะและวิธีแก้ปัญหาดังนี้ หนึ่ง แนะนำให้จัดสัมมนาเกี่ยวกับซะกาต สอง เตรียมบทเรียนและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับซะกาตแก่สังคมมุสลิม สาม ทำทะเบียนจำนวนประชากรสังคมมุสลิม สี่ ทำวิจัยเกี่ยวกับการจัดการซะกาต ห้า ร่างกฎและนโยบายซะกาต หก เผยแพร่บทบาทของสถาบันซะกาต เจ็ด สร้างความมั่นใจและความเชื่อถือต่อสถาบันซะกาต แปด แลกเปลี่ยนความรู้กับสถาบันซะกาตที่ประสบความสำเร็จ และเก้า ดำเนินโครงการการลงทุนทรัพย์สมบัติซะกาต

Downloads

Published

2021-12-30