แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์พลศึกษาในสถาบันการพลศึกษา เพื่อขับเคลื่อนสู่ประชาคมอาเซียน

Authors

  • สมเกียรติ กาทองทุ่ง นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รุ่งระวี สมะวรรธนะ อาจารย์ประจาสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

พลศึกษา, สมรรถนะ, ประชาคมอาเซียน, PHYSICAL EDUCATION, LECTURERS COMPETENCIES, ASEAN COMMUNITY

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาและนาเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์พลศึกษาในสถาบันการ พลศึกษา เพื่อขับเคลื่อนสู่ประชาคมอาเซียน วิธีการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง มีค่าความตรง IOC ที่ระดับ .90 และความเที่ยงคอนบาร์คแอลฟา .98 กลุ่มตัวอย่าง คือ อาจารย์พลศึกษา จานวน 200 คน และผู้บริหารจานวน 5 คน จากสถาบันการพลศึกษาทั่วประเทศ ผลการวิจัยพบว่า: 1) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์พลศึกษามีองค์ประกอบ 9 ด้าน คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้และวิชาการ ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านการวัดและประเมินผล ด้านทักษะสุขภาพและการปฏิบัติงานการสอน ด้านการจัดการและการพัฒนาหลักสูตร ด้านการวิจัย และด้านภาษา ทั้งนี้พบว่า 1.1) สมรรถนะที่มีระดับความสาคัญมากที่สุด คือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านการวัดและประเมินผล ด้านทักษะสุขภาพและการปฏิบัติงานการสอน 1.2) สมรรถนะที่มีระดับความสาคัญมาก คือ ด้านความรู้และวิชาการ ด้านการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี ด้านการจัดการและการพัฒนาหลักสูตร ด้านการวิจัย และด้านภาษา: 2) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ควรมีการจัดอบรมอาจารย์ประจาการตามบริบทของปัญหา ความจาเป็นและความต้องการของแต่ละวิทยาเขตเนื่องจากแต่ละแห่งมีปัญหาและความต้องการจาเป็นที่แตกต่างกัน แต่ไม่จาเป็นต้องจัดอบรมในทุกด้าน สาหรับบุคลากรที่จะเป็นครูทางพลศึกษาควรส่งเสริมให้มีหลักสูตรผลิตครูให้มีการพัฒนาสมรรถนะ ครบทั้ง 9 ด้าน

คำสำคัญ: พลศึกษา/ สมรรถนะ/ ประชาคมอาเซียน

 

Abstract

The purposes of this research were to study and propose a guideline for developing the competencies of physical education lecturers in the Institute of Physical Education for driving the ASEAN community. This study was a mixed method research. The research instruments were a questionnaire and structured interview questions which qualified with validity (IOC = .90) and reliability (Cronbach = .98). The subjects were 200 physical education (P.E) lecturers and five administrators from the Institutes of Physical Education across the country. The results were as follows: 1) the guidelines for developing the competencies of P.E lecturers were composed of nine aspects which were moral and ethics, knowledge and academics, communication and technology, inter & intra relationships and responsibility, measurement and evaluation, health and teaching skills, management and curriculum development, and research and linguistic competencies. This study found that: 1.1) the competencies in the very high level were moral and ethics, inter & intra relationship and responsibility, and health and teaching skills: 1.2) the competencies in the high level were knowledge and academics, communication and technology, management and curriculum development, and research and linguistic competencies; 2) for guidelines for developing the competencies, this study suggested that in-service lecturers should be trained according to the context of each institute as the problems, needs, and wants are different at the individual level. Each institute might not need to provide training in of the nine aspects. Moreover, it was suggested that pre-service teachers should be provided course curriculums covering all the nine competency aspects.

KEYWORDS: PHYSICAL EDUCATION / LECTURERS COMPETENCIES / ASEAN COMMUNITY

Downloads

How to Cite

กาทองทุ่ง ส., & สมะวรรธนะ ร. (2014). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของอาจารย์พลศึกษาในสถาบันการพลศึกษา เพื่อขับเคลื่อนสู่ประชาคมอาเซียน. An Online Journal of Education, 9(2), 132–146. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/20317