อิทธิพลของการเสริมพลังอานาจครูที่มีต่อผลผลิตของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ผ่านสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

Authors

  • ทิพวรรณ ภัทรนุสรณ์ นิสิตมหาบัณฑิตสาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อวยพร เรืองตระกูล อาจารย์ประจาสาขาวิชาวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Keywords:

การเสริมพลังอำนาจครู, สมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน, ผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน, TEACHER EMPOWERMENT, CLASSROOM ACTION RESEARCH COMPETENCY, CLASSROOM ACTION RESEARCH OUTPUT

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)พัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุและผลของสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) วิเคราะห์ลักษณะอิทธิพลของตัวแปรที่ส่งผลต่อสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ตัวอย่างวิจัยคือ ครูระดับมัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจานวน 450 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยายและสถิติเชิงอ้างอิง การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันโดยใช้โปแกรม SPSS การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างโดยใช้โปรแกรม LISREL

ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลเชิงสาเหตุและผลของสมรรถนะการวิจัยของครูประกอบด้วยผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนของครูได้รับอิทธิพลทางตรงจากการเสริมพลังครูและสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเป็นตัวแปรส่งผ่านที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) โมเดลเชิงสาเหตุและผลของสมรรถนะการวิจัยของครูมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 15.48 องศาอิสระเท่ากับ 12 ความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.21 ค่าดัชนีวัดความกลมกลืน เท่ากับ 0.99 ตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเป็นได้ร้อยละ 80 และ 7 ตามลำดับ

คำสำคัญ : การเสริมพลังอำนาจครู / สมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน / ผลผลิตการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน

 

Abstract

The purposes of this research were: 1) to develop and to validate a causal and effect model of action research competency, and 2) to analyze the direct effect of teacher empowerment on classroom action research output and the indirect effect of teacher empowerment on classroom action research output with classroom action research competency as a mediator. The sample of this study was 450 teachers. A questionnaire was used as the research instrument. Data was analyzed using descriptive statistics and Pearson’s correlation by employing SPSS in addition to structural equation model(SEM) analysis by LISREL.

The research findings were as follows: 1) A cause and effect model of action research competency ,i.e., Classroom action research output had a direct effect on teacher empowerment and was significant as a mediated variable in classroom action research competency.(p < .01) 2) A cause and effect model of action research competency fitted the empirical data indicated by Chi-square= 15.48, df=12, p-value=0.21 and GFI=0.99. The variables in the model explained 80% and 7% of variance of classroom action research output and classroom action research competency.

KEYWORDS : TEACHER EMPOWERMENT / CLASSROOM ACTION RESEARCH COMPETENCY / CLASSROOM ACTION RESEARCH OUTPUT

Downloads

How to Cite

ภัทรนุสรณ์ ท., & เรืองตระกูล อ. (2014). อิทธิพลของการเสริมพลังอานาจครูที่มีต่อผลผลิตของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ผ่านสมรรถนะการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. An Online Journal of Education, 9(2), 239–251. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/20346